Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น A beautiful mind, นางสาวสุมิตรา น้อยนิตย์ เลขที่ 89B…
ภาพยนต์สั้น A beautiful mind
ประวัติผู้ป่วย
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว ไม่ค่อยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ฟัง
2 ปีก่อนมาโรงพยาบาล
เข้าทำงานเป็นนักคณิตศาสตร์ที่วีลเลอร์แลปส์ (Wheeler Labs) เขาถูกเจ้าหน้าที่กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกาเรียกตัวไปช่วยถอดรหัสทางการทหาร
เขาได้ทำงานอย่างลับๆ
ผู้ป่วยกลัวถูกทำร้ายมาก แต่พยายามเก็บเป็นความลับไม่ให้ใครรู้เนื่องจากเขาทำงานเป็นสายลับ
จนกระทั่งพบว่ามีคนสะกดรอยตามเขาอยู่ตลอดและพยายามจะทำร้ายเขา
เป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัว มีน้องสาว1คน
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
เขาเห็นกลุ่มคนสะกดรอยตามเขาไปถึงที่ทำงาน
เขารู้สึกกลัวมากจึงวิ่งหนีจนกระทั่งถูกนำส่งโรงพยาบาล
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
เเต่งงานเเละมีลูกชาย 1 คน
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตและจิตเวช
มีภาวะอันตราย
ทำร้ายตนเองและผู้อื่น
พกอาวุธ
อาการก้าวร้าว
ทำลายข้าวของ
มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
มีความเจ็บป่วยเกิดขึ้น แต่ไม่ยินยอมเข้ารับการรักษา :warning:
ควรรักษา
ที่โรงพยาบาล (อยู่ในความดูแลของแพทย์และพยาบาล)
ญาติดูแลผู้ป่วยได้ไม่เต็มที่
ไม่เข้าใจโรคของผู้ป่วย
มีรายได้จากภรรยาฝ่ายเดียว
ภรรยาต้องเลี้ยงลูก
มีสารกระตุ้น
ดื่มแอลกอฮอลล์
สูบบุหรี่
ผู้ป่วยได้รับการรักษา
การรักษาด้วยยา
Thorazine 30 mg IM q 6 hr
Diazepam 10 mg IM q 4 hr prn
การบำบัดทางจิต
กลุ่มกิจกรรมบำบัด
การจำกัดพฤติกรรม
การสนทนาบำบัด
สิ่งแวดล้อมบำบัด
การรักษาด้วยไฟฟ้า ECT
ชนิด ECT
Modified
Unmodified
ระยะชัก
2.เกร็ง 10 วินาที
3.กระตุก 35 วินาที
1.อ้าปาก
4.ระยะโคม่า ผู้ป่วยหายใจแต่ไม่รู้สึกตัว
5.ระยะหลับ
6.ผู้ป่วยบางรายหยุดหายใจนาน 40 วินาที ถ้านานกว่านี้ต้องให้ออกซิเจน
ผลข้างเคียง
อาการกลัว
อาการหลงลืม
อาการชักยาวนาน
ปวดศรีษะ
กระดูกเคลื่อน
หยุดหายใจเป็นเวลานาน
การวินิจฉัย
DSM 5
มีอาการแบบนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป ในช่วงเวลา 1 เดือน
Negative symptom
Disorganized behavior
มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนเเรง
มีความคาดหวังกับตนเองสูง
Disorganized speech
delusion
คิดว่าตนเองถูกสะกดรอย
คิดว่าตัวเองเป็นคนมีชื่อเสียง
คิดว่าตัวเองเป็นสายลับ
Hallucination
ผู้ป่วยมองเห็นคนอื่นทั้งๆที่ไม่มีใครอยู่ในห้อง
หูแว่ว
คิดว่ามีชิปฝังอยู่ที่แขนตนเอง
มีปัญหาด้านสังคมหรือการงาน ตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วย กิจกรรมของผู้ป่วยบกพร่องลงจากระดับเดิมก่อนป่วยอย่างจัดเจน อย่างน้อย 1 ด้านขึ้นไป
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
การดูเเลตนเอง
การงาน
มีอาการต่อเนื่องกนันาน 6 เดือนขึ้นไป ซึ่งภายใน 6 เดือน ต้องมีอาการ ตามเกณฑ์ข้อ A อย่างน้อยนาน 1 เดือน 2 ข้อ ขึ้นไป
วินิจฉัยแยกโรคกับ Schizoaffective และ Mood Disorder,Depressive Disorder with psychotic features หรือ bipolar with phychotic features
ความผิดปกติไม่ได้เกิดจากผลทางสรีรวิทยาของสารเสพติดหรือโรคทางอายุรกรรมอื่นๆ
สิ่งที่ศึกษาเพิ่มเติม
กลไกทางจิต
Reaction formation
การกระทำตรงข้ามกับความรู้สึก
Ratitionalization
หาเหตุผลเข้าข้างตนเอง
Compensation
การทดแทนสิ่งที่ตนเองไม่มี
Fantasy
ไม่มีเพื่อนให้คุย เลยสร้างเพื่อนที่ไม่มีอยู่จริงขึ้นมาเอง
เพราะสนใจเเต่การเรียน
ทำให้ไม่ได้เข้าสังคม ไม่มีเพื่อน
เครียด กดดันตัวเอง
ปัญหาที่พบ
ผู้ป่วยเลิกรับประทานยาเอง
ไม่ให้ความร่วมมือในการรักษา
ทำร้ายตนเอง
สัมพันธภาพไม่ดี
ประเด็นที่สงสัย
ทำไมถึงทำร้ายตัวเอง
ความรู้สึกทางเพศลงลงเพราะยาหรือไม่
ทำไมผู้ป่วยถึงเลิกกินยา
สาเหตุ
บุคลิกภาพ
ชอบอยู่คนเดียว
ไม่มีเพื่อนสนิท
เก็บตัว
สารกระตุ้น
ดื่มแอลกอฮอลล์
สูบบุหรี่
ปัจจัย
กระตุ้น
เครียดจากการทำงาน
ไม่รับระทานยาต่อเนื่อง
ยังคงอยู่
ครอบครัวดูแลไม่เหมาะสม
สภาพแวดล้อม
ส่งเสริม
บุคคลิกภาพ
หวาดระแวง
เก็บตัว
นางสาวสุมิตรา น้อยนิตย์ เลขที่ 89B รหัสนักศึกษา 613601198