Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น a beautiful mind, นางสาวแก้วพิรมย์ เจริญ เลขที่9 ห้อง A…
ภาพยนต์สั้น a beautiful mind
Case : Mr.John
สาเหตุ
ด้านสังคม
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
มักมีปัญหาในการปรับให้เข้ากับเพื่อน
ต้องการการยอมรับจากสังคม
ไม่เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ
ได้รับแรงกดดันจากสังคมคนรอบข้าง
การรักษา
Therapy คือการรักษาโดยการฉีด Insulin ให้ผู้ป่วยหมดสติ (Hypoglycemia Coma) แล้วแก้ให้ฟื้นด้วยกลูโคส ซึ่งเชื่อว่าจะทาให้อาการทางจิตดีขึ้น ปัจจุบันไม่มีการรักษาวิธีนี้แล้ว
ECT เป็นวิธีการหนึ่งที่ยังใช้รักษาผู้ป่วยจิตเวชในปัจจุบัน โดยวิธีการดังกล่าวจะกระตุ้นให้เกิดภาวะชักด้วยกระแสไฟฟ้าจานวนจากัด ผ่านเข้าสู่สมองในระยะเวลาจากัด มีผลทาให้อาการทางจิตทุเลาหายเร็วขึ้น
อาการ
ความผิดปกติด้านควมคิด(content of thought)
Delution คือ การหลงผิด ป็นความเชื่อผิดๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่ีงที่ไม่เป็นจริง
คิดว่าตนเองเป็นสายลับทางทหาร(Grandiose delution )
Paranoid คือ การหวาดระแวง
หวาดระแวงไม่ไว้ใจใคร
ความผิดปกติด้านการรับรู้(perception)
Hallucintion หมายถึง อาการประสาทหลอนขึ้นมาเองโดยไม่มีสิ่งกระตุ้น
หูแว่ว(Auditiory Hallucination)
เห็นภาพหลอน(Visual Hallucintion)
พฤติกรรมเปลี่ยน
หมกหมุ่นเรื่องตัวเลขตลอดเวลา
ผู้ป่วยสมควรได้รับการรักษาทั้ง 2 แบบทั้งรักษาในโรงพยาบาล และ คนในครอบครัว
การรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงและหลงผิดซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคนรอบข้าง จึงต้องได้รับรักษาอย่างใกล้ชิด
การดูแลจากคนในครอบครัว ครอบครัวควรเปิดโอกาศให้ผู้ป่วยได้ระบาย และให้กำลังใจผู้ป่วย
ข้อมูลทัั่วไป
โรคจิตประเภท(schizophrenia)
ผิดปกติทางการรับรู้
เป้นอาการที่อาจส่งผลต่อกระบวนการคิดและความทรงจําของผู้ป่วย
ผู้ป่วยอาจมีปัญหาในการจดจ่อ การทําความเข้าใจข้อมูล การตัดสินใจ ความจํา
อาการของโรคจิตเภทอาจเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นและอยู่ในช่วงอายุ 20 ต้น ๆ ในระยะแรกผู้ป่วยอาจปลีกตัวจากสังคม เพื่อน หรื ครอบครัว
มีปัญหาในการนอนหลับ หงุดหงดิ และว้าวุ่น
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การบําบัดเพื่อเสริม ทักษะทางสังคม
การบําบัดทางจิต
การบําบัดภายในครอบครัว
อาการทางลบ
ไม่ค่อยมีความสุข
พูดน้อยลง และอาจพูดด้วยเสียงโทนเดียว
แสดงออกทางสีหน้าและอารมณ์น้อยลง
ปลีกตัวออกจากสังคม
ไม่มีอารมณ์ร่วม หรือ อาจมีการแสดงออกทางอารมณ์แบบแปลก ๆ
มีปัญหาในการทํากิจวัตรประจําวัน
อาการทางบวก
หลงผิด
ประสาทหลอน
มีความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว
เกิดความผิดปกติทางด้านความคิด
การพยาบาล
ผิดปกติทางการรับรู้
1.ไม่โตแ้ ยง้ ขาหรือเห็นเป็นเร่ืองตลกเกี่ยวกบั อาการประสาทหลอนที่ผู้ป่วยบอกและบอกถึง สภาพความเป็นจริง (Present reality) ตามความคิดและความรู้สึกของพยาบาล
ช่วยใหผู้ปวยรับรู้และยอมรับความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถานการณ์นา และการเกิดอาการ ประสาทหลอน
หลีกเลี่ยงการเกิดภาวะประสาทหลอนโดย
4.1 ให้ผู้ป่วยได้พบปะกับบุคคลอื่น ดยชักชวนให้ผู้ป่วยพดูคุยกับผู้ป่วยอื่น
4.2 ให้เข้ากลุ่มกิจกรรมบาบดั ที่เหมาะสมกบั อาการหรือพฤติกรรมของผู้ป่วยอย่างน้อย2 กลุ่มใน 1 สัปดาห์
4.4จัดให้ผู้ป่วยได้ร้บประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้วิธีการเผชิญความวิตกกังวลขณะที่อยู่ในสถานการณ์น้้น เพื่อป้องกันการเกิดอาการประสาทหลอนโดยการใช้ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์เพื่อการบำบัด
4.3มอบหมายงานของตึกที่ผู้ป่วยสามารถช่วยทำได้ เช่น รดนำ้ต้นไม้เช็ดโตะ๊อาหาร
ผิดปกติทางความคิด
ยอมรับในพฤติกรรมหวาดระแวง ไม่โต้แย้ง ต่อต้าน และประเมินระดับ ความรุนแรงของอาการ 2. สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว(One to one relationship) โดยเน้นการสร้างความวางใจและความเชื่อถือ
ผู้ป่วยที่มีความหวาดระแวงในบางสิ่ง เช่น อาหารมียาพิษ มีคนจะลอบฆ่า พยาบาลต้องยอมรับและจดั บรรยากาศให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย การให้ค วามจริงกบั ผู้ป่วยจะกระทำได้ต้องแน่ใจวา่ ผู้ป่วยรับได้การ ให้เหตุผลเพียงอย่างเดียว ผู้ป่วยอาจไม่เชื่อถือ พยาบาลอาจจะต้องแสดงพฤติกรรมให้ผูป่วยแน่ใจด้วย
ให้ผู้ป่วยมีกิจกรรม ลดเวลาที่ผู้ป่วยอยู่คนเดียว ซึ่งอาจทำให้มีความคิดหมกมุ่นอยู่ในเรื่องเดิมๆ
ผู้ป่วยหวาดระแวงมักจะมีความโกรธก้าวร้าวควบคู่ไปด้วยเสมอควรใช้วิธีโอนอ่อนผอ่นปรน อดทนในสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออก และให้ผู้ป่วยทากิจกรรมที่ระบายความก้าวร้าว
พ.ร.บ. สุขภาพจิต ฉบับที่ 2พ.ศ.2562
โดยเพิ่มเติมการส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพจิตควบคุมปัจจัยคุกคามด้านสุขภาพจิต ฟื้นฟูสมรรถภาพ และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยให้ได้รับการคุ้มครองจากการเผยแพร่ข้อมูลใดๆ ในสื่อทุกประเภท ตลอดจนเพิ่มสิทธิให้ผู้ดูแลเพื่อสามารถให้ดูแลผู้ป่วย อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยอย่างมีความสุข
โดยสังเกตจากลักษณะ
หูุแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวงไร้เหตุผล พูดจาเพ้อเจ้อ พูดจาก้าวร้าว คิดว่าตนเองมีความสามารถพิเศษเหนือคนปกติ แต่งกายแปลกกว่าคนปกติ ร่วมกับมีแนวโน้มจะมีอันตรายทั้งต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม เช่น พยายามฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเอง หรือ ทำร้ายผู้อื่น
กรณีเร่งด่วน
มีภาวะอันตรายทั้งต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม ซึ่งมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา ให้รีบโทรแจ้งสายด่วนการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 และสายด่วนตำรวจ 191
กรณีไม่เร่งด่วน
ให้ปรึกษาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือ โทรสายด่วนสุขภาพจิต 1323
นางสาวแก้วพิรมย์ เจริญ เลขที่9 ห้อง A รหัส613601010