Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินระบบทางเดินหายใจ
Acute respiratory failure
ถาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
ชนิด
1.Oxygenation failure
ภาวะหายใจล้มเหลวเนื่องจากเลือดขาดออกซิเจน (hypoxemia)
สาเหตุ
V/Q mismatch
มีอากาศไหลเวียนเข้าสู้ถุงลมเพียงพอแต่มีเลือดไหลมาแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอ
Shunt
ไม่มีอากาศไหลเวียนเข้าสู่ถุงลมแต่มีเลือดไหลมาที่ถุงลม ซึ่งทำให้เลือดไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซเกิดขึ้น
ตรวจพบ
PaO2 ต่ำกว่า 80 mm.Hg.
หายใจเร็ว (hyperventilation)
Ex.ARDS
2.Ventilatory failure
ภาวะหายใจล้มเหลวเนื่องจากมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง (Hypoventilation)
สาเหตุ
เกิดจากการหายใจเข้าที่ลดลงหรือหายใจเข้าตื้นกว่าปกติ โดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคของระบบประสาทและกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ควบคุมการหายใจเข้าออกของปอด
Ex. โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิด MG, โรคอัมพฤกษ์, อัมพาต
ตรวจพบ
PaCO2 มากกว่า 45 mm.Hg.
pH ต่ำกว่า 7.35
5.ภาวะเลือดออกในทางเดินหายใจ
Massive hemoptysis
เป็นการไอเป็นเลือดอย่างรุนแรง ปริมาณเลือดออกครั้งละมากกว่า 200 มล. หรือ 800-1000 มล. ใน 24 - 48 ชม.
Pulmonary circulation เลี้ยงเนื้อปอดและหลอดลมส่วนปลาย (respiratory bronchioles) มีความดันในเส้นเลือดต่ำ เมื่อเกิดเลือดออก มักทำให้มีปริมาณเลือดที่ออกไม่มาก
Bronchial circulation เลี้ยงหลอดลมส่วนต้น ส่วนปลายและ mediastinal structures มีความดันในเส้นเลือดสูง เมื่อเกิดเลือดออกจากระบบนี ้อาจท าให้มีปริมาณเลือดที่ออกมากหรือน้อยก็ได้
สาเหตุ
Infection: TB, Bronchitis, Lung abcess
โรคมะเร็ง เช่น โรคมะเร็งปอด โรคมะเร็งหลอดลม
Trauma: chest trauma
Post lung biopsy
Cardiopulmonary vascular problems
การวินิจฉัย
Chest X-Ray
CT scan
Bronchial artery angiography
Bronchoscope
การพยาบาล
แก้ไขการแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติ เช่น ให้ vitamin K
ให้ยาฆ่าเชื ้อ เช่น ยาต้านวัณโรค
ส่องกล้องทางเดินหายใจและอาจรักษาด้วยการใช้บอลลูนไปกดบริเวณที่มีเลือดออกและฉีดสารเพื่อไปอุดบริเวณที่มีเลือดออก (Bronchial arterial embolization)
ดูแลให้ออกซิเจน
เปิ ดเส้นเลือดด้วยเข็มขนาดใหญ่
ติดตามผล Hct.
1.การอุดกั้นระบบทางเดินหายใจส่วนบน
(Upper airway obstruction)
สาเหตุ
มีความผิดปกติทางเดินหายใจส่วนบนแต่กำเนิด
การได้รับอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
การอักเสบติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
การเกิดก้อนเนื้อ
การอุดกั้นจากสิ่งแปลกปลอม
Obstructive sleep apnea
Maxillofacial injury
การบาดเจ็บบริเวณขากรรไกรและใบหน้า
อาการ
หายใจลำบาก(Dysnea)
ไอถี่
เสียงแหบหรือไม่มีเสียง
หายใจเข้ามีเสียงดัง (Stridor)
มีการใช้แรงกล้ามเนื้อในการหายใจมาก หายใจมีหน้าอกบุ๋ม
เขียว (Cyanosis)
การพยาบาล
การให้ O2 เพื่อช่วยลดภาวะ Hypoxemia
การเปิดทางเดินหายใจโดยวิธี ดังนี้
- ใช้นิวล้วง (Finger sweeps) - Heimlich maneuver
Airway management เช่น การจัดท่า Head tile/chin lift ,การใส่ Oral airway
ให้ยาขยายหลอดลม ยาคอร์ติโคสเตียรอยในผู้ป่วยที่มีการบวมของหลอดลม
สาเหตุ
การฉีกขาดของ external maxillary artery, superficial temporal artery และ angular artery ซึ่งสามารถท าให้หยุดได้ โดยการกดลงไปที่ตำแหน่งที่มีเลือดออก วิธีการห้ามเลือดที่นิยมท าเพื่อ control ภาวะ hemorrhage ในผู้ป่ วย maxillofacial injury คือ การทำ anterior and posterior nasal packing
3.การจับหืดเฉียบพลัน
(Acute asthma)
สาเหตุ
การได้รับสิ่งกระตุ้นประเภทสารก่อภูมิแพ้ ได้แก่ควันบุหรี่ ควันพิษจากสิ่งแวดล้อม ฝุ่นบ้าน ไรฝุ่น หวัด
อาการ
กระสับกระส่าย เหนื่อย หอบ
หายใจหวี๊ดเสียงดังขณะหายใจออก
พูดไม่ได้
RR มากกว่า 30ครั้ง/นาที
PR มากกว่า 110 ครั้ง/นาที
Peak expiratory flow rate < 120 ลิตร/นาที
การพยาบาล
ให้ยาขยายหลอดลมที่ออกฤทธิ์เร็ว β2 agonists: Salbutamol
ให้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์
ให้ออกซิเจน
I.V. fluid
2.ภาวะการหายใจถูกกดเฉียบพลัน
Acute respiratory distress syndrome: ARDS
สาเหตุ
สาเหตุทางตรง
Aspirate
Infection (ไวรัส /แบคทีเรีย)
TB
SARS , MERS
Lung contusion with trauma การจมน้ำ
Toxic inhalation การสูดสำลักคาร์บอนมอนอกไซด์
สาเหตุทางอ้อม
Sepsis
Burn
Cardiopulmonary bypass ที่ใช้เวลานาน
Shock
พยาธิสรีรวิทยา
ร่างกายได้รับการกระตุ้นจากสาเหตุต่างๆ ข้างต้น หลั่งสาร cytokine ทำลายเนื อเยื่อถุงลม มีการขยายตัวของหลอดเลือดฝอยรอบถุงลม มีเม็ดเลือดขาว Neutrophil เคลื่อนที่เข้ามาในถุงลม ทำให้เกิดปฏิกิริยาของการอักเสบภายในถุงลมและรอบๆ ถุงลมอย่างต่อเนื่อง มีของเหลวโปรตีนสูง รั่วออกจากหลอด เลือดเข้ามาสะสมในถุงลม การเปลี่ยนแปลงของ surfactant ทำให้ถุงลมแฟบ ความยืดหยุ่นของปอดลดลงเนื ้อปอดแข็ง เกิดเป็ น intrapulmonary shunt ให้ออกซิเจนความเข้มข้นสูงก็ไม่สามารถแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนได้
การวินิจฉัย
มีประวัติปอดได้รับบาดเจ็บ (precipitating event)
มีอาการของ respiratory distress ได้แก่ หายใจเร็ว เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
Pulmonary compliance ลดลง
ABG พบ Severe hypoxemia ไม่ตอบสนองต่อการให้ออกซิเจนธรรมดา , PaO2< 50 ขณะที่ได้ FiO2 > 0.6
Chest X-Ray พบ alveolar infiltrate both lung (เนื้อปอดขาวทังสองข้าง)
การพยาบาล
Ventilation & Prevent complication
PEEP and FiO2 Adjusted to maintain saturation
Drug : ATB, Steroids, sedative, muscle relaxant, analgesic
Nutrition & Electrolyte
Fowler's position/Prone positioning/good lung down
4.โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด
Pulmonary Embolism (PE)
สาเหตุ
PE เป็นภาวะแทรกซ้อนเกิดจากการที่มีลิ่มเลือดเกิดขึ้นในหลอดเลือดดำ และหลุดไปอุดที่หลอดเลือด
การไหลเวียนของเลือดลดลงเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว (immobilization) เป็นเวลานาน
มีความผิดปกติของเลือด ที่ท าให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย (hypercoagulable states)
ผนังหลอดเลือดด าที่ผิดปกติเกิดจากมี local trauma หรือมีการอักเสบ
อาการ
Hypotension SBP < 90 mmHg หรือ ลดลงกว่าเดิม 40 mmHg เป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที
Right ventricle out put ลดลง
มีการขยายตัวของหัวใจห้องล่างขวา ผู้ป่ วยจะมีอาการแสดง คือ หอบเหนื่อย หายใจลำบาก หน้ามืด ใจสั่น หมดสติ
มีแรงดันต่อหัวใจห้องล่างขวามากขึน ทำให้หัวใจห้องล่างขวาเกิดการขาดเลือดและเกิดภาวะล้มเหลวตามมา
Cardiac arrest
การวินิจฉัย
มีประวัติ DVT
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ D-dimer ผล Positive
ตรวจ Echocardiogram เป็ นการตรวจที่ควรท าให้เร็วที่สุด จะพบการขยายตัวของหัวใจห้องล่างขวา
การตรวจ CT Scan
6.การบาดเจ็บจากการสำลักควันไฟ
Smoke inhalation injury
พยาธิสรีรวิทยา
ทางเดินหายใจที่ได้รับความร้อนจะมีอาการบวมอย่างมากการบวมของเเนื้อเยื่อนันจะทำให้เกิดภาวะอุดตัน airway จะมีเกิด fluid secretion และรวมตัวกลายเป็ น foam และเมื่อเวลาผ่านไปก็จะก่อให้เกิด clotอุดตันทั้งใน upper airway , lower airways และ alveoli จึงเป็นเหตุผลที่ในรายที่ได้รับการบาดเจ็บที่รุนแรง
อาการ
ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน
มีเขม่าควันปนในเสมหะ
หายใจผิดปกติ
เขียว
การพยาบาล
นำผู้ป่วยออกจากจุดที่ไฟไหม้ ถอดเสื้อผ้า เพื่อประเมินบาดแผลหรือการบาดเจ็บ แล้วควรห่มผ้าให้ความอบอุ่น
ให้ Oxygen mask with bag 100% เพื่อไปแทนที่คาร์บอนมอนนอกไซด์ในกระแสเลือด
การดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำ