Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด - Coggle Diagram
ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
ภาวะจิตประสาทหลังคลอด
Postpartum psychosis
48-72 ชั่วโมง หลังคลอด
มีอาการรุนแรงทันที
อารมณ์ไม่แน่นอน
วิตกกังวลอย่างมาก
มีอาการทางจิต
การรักษา
Atmid งด BF
ใช้ยา
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug)
ยาลดภาวะซึมเศร้า (Antidepressants)
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer)
การพยาบาล
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ป้องกันการทำร้ายตนเอง
เก็บสิ่งของอันตราย
ให้ยา
เต้านมอักเสบ
(Breast Abscess)
สาเหตุ
Stap. Aureus
หัวนมแตก ถลอก
เต้านมคัดมาก
ท่อน้ำนมอุดตัน
พบในช่วง 3-4 สัปดาห์หลังคลอด
เป็นข้างเดียว บางตำแหน่ง
อาการและอาการแสดง
มีไข้
เต้านมมีลักษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด
ผิวหนังจะนุ่ม เป็นมัน
ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้อาจโต และเจ็บ
การรักษา
เพาะเชื้อ+ATB
ยาแก้ปวด
การเจาะระบายหนองใช้เข็มเจาะดูด (needle aspiration)
BF ได้
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
Postpartum depression
หลังคลอด 2-3 เดือน มีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
จิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ร่วมกับรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง
มองโลกในแง่ร้าย พฤติกรรมเปลี่ยน
การรักษา
ยากลุ่ม SSR inhibitor
เข้ากลุ่มจิตบำบัด
การพยาบาล
ดูแลให้พักผ่อน
ให้กำลังใจ สร้างสัมพันธภาพที่ดี
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
ดูแลอย่างใกล้ชิด
มดลูกไม่เข้าอู่
(Subinvolution of Uterus)
สาเหตุ
มีเศษรกหรือหุ้มเยื่อทารกค้างในมดลูก
มีก้อนเนื้องอกของมดลูก
ตั้งครรภ์หลายครั้ง
ทารกตัวโต
full bladder
มดลูกคว่ำหน้ามากหรือคว่ำหลังมาก
Endometritis
ทารกไม่ดูดนม
C/S
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาไม่จางลง
น้ำคาวปลาที่จางลงเปลี่ยนเป็นสีแดง
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง
ปวดมดลูกและมีไข้
เหนื่อยอ่อนเพลีย
การรักษา
ให้ยา Oxytocin
Dilatation and Curettage
ATB in endometritis
การพยาบาล
ประเมิน daily HF, lochia, อาการปวดมดลูก
Early ambulation postpartum
ติดตาม vital signs
อุ้งเชิงกรานอักเสบ
(Parametritis)
สาเหตุ
ติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือมดลูก
ลามไปทางหลอดน้ำเหลือง
เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
ไข้ 38.9-40 38°c
ร่วมกับ tachycardia
มดลูกโตขึ้น
กดเจ็บที่มดลูกส่วนล่างข้างเดียวหรือสองข้าง
ตำแหน่งมดลูกจะ fix จากหนองที่เกิดขึ้น
ตาม round ligament
การรักษา
รักษาตามอาการ
ATB กลุ่ม cefalosporin
ถ้ามีฝีหรือหนองต้องระบายออก
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
(Peritonitis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าทางช่องคลอดผ่านปากมดลูก
เข้ามดลูก ปีกมดลูก
กระจายเข้าเยื่อบุช่องท้อง
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องหรือสัมผัสท้องแล้วปวด
ท้องอืดหรือแน่นท้อง
ไข้ N/V เบื่ออาหาร
การรักษา
ATB ที่ครอบคลุมทั้ง aerobes และ anaerobes
ผ่าตัดในราย
แผลมดลูกเน่าและแยก
มีการแตกทะลุของลำไส้
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
(Episiotomy infection)
สาเหตุ
แผลแยก
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การสูบบุหรี่
ติดเชื้อ HPV
อาการและอาการแสดง
ปวดเฉพาะที่ที่แผล
ปัสสาวะลำบาก
ไข้ต่ำๆ
ขอบแผลบวม เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง
ไหมที่เย็บอาจขาดหลุดออกมา
มีหนอง
การรักษา
debride necrosis
ATB
drain หนอง
sitz bath บ่อยๆทุกวัน
ยาแก้ปวด
การติดเชื้อที่แผลแผลผ่าตัด
(Abdominal incisional infections)
ปัจจัยเสี่ยง เช่น DM, HT, Obesity
อาการและอาการแสดง
ไข้ตั้งแต่ 4 วันหลังผ่าตัด
ไข้ต่อเนื่องขณะได้ ATB
บริเวณแผลจะแดงและมีหนอง
การรักษา
ATB+drain หนอง
wet dressing 2 ครั้งต่อวัน
4-6 วัน แล้วจึงเย็บปิดแผลด้วยไหม
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบในอุงเชิงกราน
(Pelvic Thrombophlebitis)
สาเหตุ
การติดเชื้อบริเวณมดลูก บริเวณ Fundus
การอักเสบของหลอดเลือดดำในกล้ามเนื้อมดลูกลามเข้าไปใน Ovarian Vein
ข้างขวาเข้า Inferior Vena Cava ข้างซ้ายจะเข้า Renal Vein
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องน้อยด้านล่างและ/หรือสีข้าง
ตรวจพบก้อนบริเวณ Parametrium กดเจ็บตามเส้นเลือดที่มีการอักเสบ
เกิดวันที่สองหรือสามหลังคลอด
ตรวจ CT หรือ MRI
มีไข้ หรือไม่มี
การรักษา
ATB+Heparin
ก้อนเลือดคั่งที่ฝีเย็บ
(Hematoma)
สาเหตุ
การเย็บไม่ถึงก้นแผล
การแตกของเส้นเลือดดำขอด
การแตกของหลอดเลือดโป่งพอง
บริเวณ hypogastric artery
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณทีมีก้อนเลือดคั่ง
รู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอด
ปสว. อุจจาระลำบาก
การรักษา
ใช้น้ำแข็งกดทับ ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
on foley's catheter
ผ่าตัดเอาก้อนเลือดออก
เยื่อบุมดลูกอักเสบ
(Endometritis)
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
น้ำคาวปลาไม่เปลี่ยนสี จะมีสีน้ำตาลแดง อาจมีเยื่อหุ้มรกออกมา
มดลูกมีขนาดใหญ่คลำได้ นุ่ม กดเจ็บ
3 หลังคลอดมีไข้ ไม่เกิน 38.8°c
PR 90-120 bpm อาจมีปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
WBC > 20,000/mm3, neutrophil ↑
การรักษา
รักษาตามอาการ
ATB กลุ่ม cefalosporin
จัดให้นอนท่า Fowler’ position