Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทประสาท - Coggle Diagram
บทที่11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทประสาท
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsion ไม่มีความผิดปกติของสมอง
Secondary febrile convulsion มีความผิดปกติของสมอง
การรักษา
ระยะที่มีอาการชักเกินถนาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับชักร่วมกับยาลดไข้
ระยะหลังชัก ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานอาหารทุกวัน1-2ปี
โรคลมชัก(Epilepsy)
เเบ่งชนิดตามลักษณะอาการ
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
ไม่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
มีความผิดปกติทางระบบประสาท
สาเหตุการชัก
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
ได้รับอันตรายจากการคลอด
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
Metabolic and Toxic etiogies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับชักเเละยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามวินิจฉัยที่ได้
การจัดอาหารสัดส่วนที่มีปริมาณไขมันสูง คาร์โบไฮเดตรต่ำ โปรตีนต่ำ
การฝั่งเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
ชักจาการติดเชื้อของเยื่อบุหุ้มสมองหรือเนื้อสมอง
Meninggitis
สาเหตุ
ไวรัส/แบคทีเรีย
พยาธิ/เชื้อรา
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดศีรษะมาก ซึมลง อาเจียน กระหม่อมโป่งตึง ชัก
อาการแลพอาการเเสดงของเยื่อบุหุ้มสมอง
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
รักษาตามอาการ
ป้องกัน ควรฉีดวัคซีน
Encephalitis
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อเเบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อปรสิต
ปฎิกิริยาต่อวัคซีน
อาการและอาการแสดง
ไข้สุง ปวดศีรษะ ปวดบริเวณต้นคอ คอเเข็ง
ซึมลง จนถึงโคม่าภายใน24-72 ชั่วโมง/ชัก กระสับกระสาย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
หสยใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
การใช้ยาระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง นอนหลับให้สารน้ำ
รักษสมดุลของปริมาณน้ำเข้าออก ของร่างกาย
ให้ออกซิเจน เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
โรคไข้สมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ต่อจากปวดศีรษะจะมีอาการอาเจียน ง่วงซึม บางรายอาจชักเกร็งกระตุก
หายใจไม่สม่ำเสมอ
เริ่มต้นจากไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยที่ใช้อยู่ในปัจจุบันคือตรวจหา IgM antibody เฉพาะต่อไวรัส เจอี ในน้ำไขสันหลังและในเลือด
การรักษา
ให้ยาลดไข้ ลดอาการบวมของสมอง ระงับอาการชัก ดูเเลทางเดินหายใจ ดูดเสมหะบ่อยๆ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ยุงกัด
ไม่เลี้ยงหมูบริเวณใกล้บ้าน
ฉีดวัคซีน
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะเเคงหน้าไปขางใดข้างหนึ่ง
ท่าทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
ดูเเลให้ได้รับยากันชัก
ดูเเลให้ยาลดไข้
วัดสัญญาณชีพทุก4 ชั่วโมง
การให้คำเเนะนำเเละเตรียมความรู้
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโรค
เเนะนำวิธีการปฎิบัติเมื่อผู้ป่วยมีไข้
เเนะนำเมื่อเกิดอาการชัก
เเนะนำการดูเเลให้ยากันชัก เเละผลข้างเคียงของยา
โรคสมองพิการ Cerebral palsy
หมายถึง
คนที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว เนื่องจากความผิกปกติในการทำงานของสมองไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆได้
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด ได้เเก่การมีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงระหว่างการตั้งครรภืเดือนที่6-9 การขาดสารอาหาร ชัก หรือมีภาวะปัญญอ่อน
ระยะคลอด สมองขาดออกซิเจน
ระยะหลังคลอด การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ การติดเชื้อบริเวณสมอง
อาการและอาการแสดง
ลักษณะอ่อนปวกเปียก หายใจช้า พัฒนาการช้า
สูญเสียการทรงตัว ภาวะปัญญาอ่อนตั้งแต่ขนาดน้อยถึงมาก พูดไม่ชัดเจน
การพยาบาล
1.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากปัญหาการรับประทานอาหาร
2.เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัย เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
3.เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว/ระบบประสาท
บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ได้แก่ diazepam,baclofen
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและส่งเสริมให้เด็กฝึก
ทักษะการใช้ส่วนต่างๆของร่างกายตามความสามารถและศักยภาพอย่างเหมาะสม
Spinabifida
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์การตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ พบ Alphafetoprotienในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากถุงน้ำเเตก
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดแผล
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ประเมินการติดเชื้อ
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
2.ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
3.ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจาการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขา
การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการ
เคลื่อนไหวของผู้ป่วย
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่ายจากการปนเปื้อนอุจาระปัสสาวะ
จัดท่านอนตะแคงหรือคว่ำ ไม่นุ่ง้าอ้อม
ดูแลทำความสะอาดแผล
3.ดูแลให้ยา Antibiotic / check V/S
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่า
Guillain Barre ‘s Syndrome
กลุ่มอาการของโรคที่เกิดจากการบวมอักเสบของระบบประสาทส่วนปลายหลายๆเส้นอย่างเฉียบพลัน (Polyradiculoneuropathy) ที่เกิดขึ้นหลังจากมีการติดเชื้อในร่างกาย
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ โดยมีการสร้างแอนติบอดีย์ต่อ Myelin sheath ของเส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนที่เป็น
spinal nerve roots
อาการและอาการแสดง
Sensation เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวดโดยเฉพาะปลายแขนปลายขา ไหล่ สะโพก และโคขา อาการอาจเริ่มด้วยอาการคล้ายเป็นตะคริวที่ส่วนปลาย
กล้ามเนื้ออ่นเเรง
อาการของประสาทสมอง โดยเฉพาะส่วนใบหน้า ประสาทสมองคู่ที่ 7 (Facaial nerve) พบ
ความผิดปกติบ่อยที่สุด
การรักษา
การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin (IVIG)
การนิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
เสียงต่อการขาดสารอาหารจากไม่สามารถช่วยตนเองจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างสมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว จากกล้ามเนื้ออ่อนแรงทำให้สูญเสียความสามารถในการดูแลตนเอง
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ทุกข์ทรมานจากอาการปวดกล้ามเนื้อ
ขาดการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นๆจากไม่สามารถพูดได้
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
Check vital sign โดยเฉพาะ RR
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ให้ออกซิเจน ใส่เครื่อช่วยหายใจ
ประคับประคองด้านจิตใจ
กลุ่มอาการดาวน์ (Down ’s syndrome)
อาการและอาการแสดง
-กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
-หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
-คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
-หูติดอยู่ต่ำ
-brush field spot
-ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
-มือกว้างและสั้น มักจะมี simian crease
-นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
-ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
-เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่า
ปกติและพบ distal triradius ในฝ่ามือ
การรักษา
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย คือ โรคหัวใจ
ระบบทางเดินอาหารอุดกั้น ภาวะฮัยโปไทรอยด์และอื่นๆ
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตาม
วัยตั้งแต่อายุยังน้อย(early stimulation)
Hydrocephalus
หมายถึงภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณเวนติดเคิล (ventricle) ของสมองและsubarachnoid space มากกว่าปกติ
สาเหตุ
1.การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
Overproduction of CSF
Obstruction of the flow of CSF
Defective absorption of CSF
อาการและอาการแสดง
ศรีษะโต/ หัวบาตร (cranium
enlargement)
2.(fontanelle bulging)
3 หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำที่บริเวณใบหน้าหรือศรีษะโป่งตึงเห็นชัดมากกว่าปกติ
4.อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
5.ตากรอกลงล่าง กล้ามเนื้ออ่อนเเรง พัฒนาการช้า
การวินิจฉัย
ตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
Transillumination test
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
CT scan
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (Shunt)
Ventriculo-peritoneal Shunt (V-P Shunt)
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง (Diamox)
ปัญหาแทรกซ้อนของการผ่าตัดใส่ Shunt
Obstruction
Infection
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจาก
การคั่งของน้ำไขสันหลัง
ประเมินอาการความดันในกระโหลกศีรษะสูง
วัดเส้นรอบวงศีรษะทุกวันเวลาเดียวกัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
อาจเกิดแผลกดทับ
บริเวณศีรษะ
จัดให้นอนบนที่นอนนุ่มๆ ใช้หมอนนุ่มรองศีรษะไหล่
เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
รักษาความสะอาดของผิวหนัง
จัดปูที่นอนให้เรียบตึง
ตรวจสอบประเมินการเกิดแผลกดทับสม่ำเสมอ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
1.การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
2.การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป (เน้นนอนราบหลังผ่าตัด ใน 24 ชม.แรก