Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ. 2479 ได้แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็น 2 แผน ได้แก่ แผนโบราณและแผนปัจจุบัน
พ.ศ. 2518 เพิ่มอีก 2 สาขา คือ กายภาพบาบัดและเทคนิคการแพทย์
พ.ศ. 2480 ได้มีการประกาศใช้กฎหมายฉบับใหม่ คือ พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ
พ.ศ.2528 ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุัครรภ์ พ.ศ. 2528”
ต่อมาใน พ.ศ. 2472 มีการแก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบโรคศิลปะเป็นการกระทำต่อมนุษย์เท่านั้น
“พระราชบัญญัติวิช าชีพการพยาบาลและการผดุัครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุัครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540”
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุัครรภ์ในประเทศไทยได้มีพัฒนาการมากกว่า 100 ปี และมีกฎหมายที่มีควาสัมพันธ์กันหลายฉบับ ซึ่่งเดิมอยู่ในความควบคุมของแพทย์ภายใต้ “พระราชบัญญัติการแพทย์ พ.ศ. 2466”
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สาหรับพยาบาล
กฎหมายแพ่งเป็นส่วนหนึ่ัในประมวลกฎหมายแพ่่งและพาณิชย์ (ปพพ.) ที่กาหนดสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน และสามารถต่อรองเพื่อตกลงกระทำการใดๆ ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย
กฎหมายพาณิชย์: เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้อักับการค้าขายหรือกิจการ ใดๆ ที่ได้กระทาในเรื่อัหุ้นส่วนบริษัท ประกันภัย ตั๋วเัิน เป็นต้น
นิติกรรม หมายถึง การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมายมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือ ระงับสิทธิระหว่างบุคคล เช่น สัญญาจ้าัพยาบาลพิเศษ
ผู้กระทาต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทาโดยเจตนา
การกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทาให้เกิดการเคลื่อ นไหวสิทธ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจานวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
โมฆียกรรม
ความสามารถของบุคคล
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การบังคับชำระหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความรับผิดตามสัญญา
ความสัมพันธ์ในทางสัญญาเกิดจากรับผู้ป่วยเข้ารักษาในสถานพยาบาลโดยไม่จำเป็นต้องมีการลงนามยินยอมรับการรักษา โดยเฉพาะกรณีฉุกเฉิน แม้จะไม่สามารถรับการรักษาได้ด้วยเหตุผลใดก็ตาม แพทย์และ พยาบาลต้องให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นและส่งต่อ
ทั้งนี้การวินิจฉัยโรคที่ผิดหรือการรักษาพยาบาลผิดย่อมเป็นการผิดสัญญา เช่นเดียวกับการพยาบาลที่ให้แก่ผู้ป่วย หากมีความผิดพลาดย่อมเป็นการผิดสัญญา
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปตามที่ว่าจ้าง
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทำไป
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ หรือชั่วครั้งคราวจะต้องร่วมรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทำ
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
กระทำด้วยความจำเป็น
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทำตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
การกระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
เหตุอื่นๆในการลดหย่อนหรือบรรเทาโทษ
โทษทางอาญา
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษประหารชีวิต
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ลหุโทษ
การทำงานเพื่อบริการสังคม
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ความบกพร่องด้านการบันทึก
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพกับการปฏิเสธการรักษา
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทาหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทาให้หญิงแท้งลูก