Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ - Coggle…
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injury)
การบาดเจ็บที่เกิดกับทารกระหว่างคลอดจากแรงที่กระทำกับทารกโดยตรง และไม่เกี่ยวกับโรคที่มารดาเป็นระหว่างการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยงจากมารดา
ความผิดปกติที่มีมาก่อนการตั้งครรภ์ เช่น มารดามีภาวะเบาหวาน ,CPD
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการตั้งครรภ์ เช่น ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ปัจจัยเสี่ยงจากทารก
ทารกมีส่วนนำผิดปกต
ทารกมีขนาดตัวโตมาก
อายุครรภ์ของทารกไม่ครบกำหนด หรือเกินกำหนด
การคลอดไหล่ยาก
ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
ปัจจัยเสี่ยงจากการคลอด
การคลอดด้วยคีม หรือเครื่องดูดสุญญากาศ
การใช้แรงดึงมากเกินไป
ปัจจัยเสี่ยงจากผู้ทำคลอด
ขาดความชำนาญหรือขาดการเอาใจใส่อย่างเพียงพอ
แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
Skull injuries
caput succedaneum
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างการคลอดท่าศีรษะ ทำให้มีของเหลวไหลซึมออกมานอกหลอดเลือดในชั้นใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
แนวทางการรักษา
จะหายไปได้เองภายหลังคลอด
ประมาณ 2 -3 วันหลังคลอด
บทบาทการพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ของก้อน
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึงอาการที่เกิดขึ้นเพื่อคลายความวิตกกังวล
บันทึกอาการและการพยาบาล
cephalhematoma
สาเหตุ
สาเหตุ
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องทางคลอดหรือการใช้เครื่องดูดสูญญากาศช่วยคลอด เป็นผลทำให้หลอดเลือดฝอยบริเวณเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะของทารกฉีกขาด เลือดจึงซึมออกมานอกหลอดเลือดใต้ชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
บทบาทการพยาบาล
สังเกต ลักษณะ ขนาด และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ เกี่ยวกับภาวะเลือดออกในสมอง
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโนเลือด
สังเกตอาการซีด การเจาะหาค่า Hct และดูแลให้เลือดตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลเกี่ยวกับการหาค่า microbilirubin ถ้ามีภาวะตัวเหลือง ให้การพยาบาลทารกที่ได้รับการส่องไฟตามแผนการรักษาของแพทย์
อธิบายมารดาและบิดาให้เข้าใจถึงอาการที่เกิดขึ้น
intracranial hemorrhage
สาเหตุ
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน
การได้รับอันตรายรุนแรงจาการคลอด
แนวทางการรักษา
ถ้ามีความดันในกะโหลกศีรษะสูง อาจได้รับการรักษาโดยเจาะน้ำไขสันหลังเพื่อบรรเทาอาการความดันในสมอง
ดูแลให้ได้รับยาระงับการชัก และให้วิตามินเค
ดูแลให้ออกซิเจนถ้าทารกมีภาวะพร่องออกซิเจน
บทบทพยาบาล
ดูแลให้ทารกหายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ปริมาณออกซิเจนที่ทารกได้รับความไม่ควรเกิน 40% หรือ
ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำที่เพียงพอ
ให้ทารกอยู่ในตู้อบ (incubator)
ตรียมเครื่องมือในการให้ความช่วยเหลือทารกไว้ให้พร้อม
ตรวจสอบสัญญาณชีพ และบันทึกไว้ทุก 2- 4 ชั่วโมง
ป้องกันและไม่ให้ทารกได้รับอันตรายจากการชัก
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อน
ประคับประคองจิตใจมารดาและบิดาเพื่อลดความวิตกกังวล
ดูแลฉีดวิตามินเค จำนวน 1 มิลลิกรัม เข้ากล้ามเนื้อเพื่อป้องกันเลือดที่จะออกเพิ่ม
Bone injuries
กระดูกต้นแขน
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทำคลอดดึงทารกออกมา แขนเหยียดหรือการคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
แนวทางการรักษา
รักษาโดยการตรึงแขนให้แนบกับลำตัวเพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
หากกระดูกแขนหักสมบูรณ์ จะรักษาโดยการจับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา
กระดูกต้น
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทำคลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ที่ทางเข้าเชิงกราน (pelvic inlet)
แนวทางการรักษา
incomplete รักษาโดยการใส่เฝือกขายาว ประมาณ 3 -4
สัปดาห์
complete รักษาโดยการห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวาง
ปลายเตียง ขาเหยียดตรง ให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตียง ดึงขาไว้นาน 2-3 สัปดาห์
กระดูกไหปลาร้าหัก
สาเหตุ
การคลอดทารกท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก ทารกตัวโตหรือคลอดท่าก้นที่แขนเหยียดซึ่งผู้ทำคลอดดึงแขนออกมา
แนวทางการรักษา
ส่วนใหญ่หายได้เอง มักเกิดกระดูกงอกใหม่ภายใน 1 สัปดาห์
รักษาโดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหลปลาร้าหักอยู่นิ่ง ๆ โดยการ
กลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ 10 – 14 วัน
บทบาทการพยาบาล
ดูแลไม่ให้กระดูกส่วนที่หักเคลื่อนไหว
จัดกิจกรรมการพยาบาลไม่ให้เคลื่อนไหวร่างกายทารกบ่อย ๆ
ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย และป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเพิ่ม
ดูแลให้ทารกได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลความสุขสบายจากการขับถ่าย
ดูแลให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจแก่ทารก
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
nerve injury
facial nerve injury
สาเหตุ
การคลอดยาก การใช้คีมช่วยคลอดทำให้กดเยื่อประสาทสมองคู่ที่ 7 (facial nerveinjury)
แนวทางการรักษา
ถ้าประสาทที่เลี้ยงใบหน้าเพียงถูกกดอาจหายไปได้เองภายใน 2-3 วัน ถึง
สัปดาห์ แต่ถ้าเส้นประสาทขาดต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท
การพยาบาล
ดูแลไม่ให้ดวงตาของทารกได้รับอันตราย
ดูแลให้ทารกได้รับอาหารเหมาะสมตามความต้องการของทารก
ดูแลให้ทารกได้รับการตอบสนองด้านจิตใจ
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
Brachial nerve injury
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาท Brachial ถูกดึงหรือกด
แนวทางการรักษา
ให้แขนไม่เคลื่อนไหว ในท่ากางหมุนแขนออก ข้อศอกตั้งฉากกับลำตัว
ทำกายภาพบำบัด
ศัลยกรรมซ่อมประสาท
การพยาบาล
ดูแลให้ส่วนที่ได้รับอันตรายไม่เคลื่อนไหว
ดูแลให้แขนที่ได้รับอันตรายได้ออกกำลัง
ดูแลความสุขสบายและการผ่อนคลายให้ทารกที่ต้องตรึงแขน
ดูแลตอบสนองความต้องการทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ช่วยให้มารดาและบิดามั่นใจในการดูแลทารก
Birth Asphyxia
ขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด เกิดจากภาวะที่การแลกเปลี่ยนก๊าซของปอดหรือรกเสียไป
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ขณะตั้งครรภ์
อายุมากกว่า 35 ปี หรือน้อยกว่า 16 ปี
โรคเบาหวาน
เลือดออกในระยะตั้งครรภ์
ติดยาเสพติดหรือสุรา
มีประวัติการตายในระยะเดือนแรกของชีวิต
PIH /chronic hypertension
Oligohydramnios /Polyhydramnios
Post term gestation
ารกในครรภ์มีความพิการ
ขณะคลอด
ท่าก้นหรือส่วนน้ำผิดปกติ
การติดเชื้อ
การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
สายสะดือย้อย
ได้รับ sedative หรือยาแก้ปวด
Meconium stain amniotic fluid
อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
การวินิจฉัย
ประวัติการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์เกินกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ประวัติการลดลงของออกซิเจนในมารดา ประวัติการลดลงของการไหลเวียนเลือดของมารดาหรือรก ประวัติการพร่องของการแลกเปลี่ยนเลือดและออกซิเจนระหว่างทารกและรก ประวัติการได้รับยาระงับความเจ็บปวดระหว่างคลอด
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของหัวใจในระยะแรกจะเร็วมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที ขณะคลอดพบขี้เทาในน้ำคร่ำ ระยะแรกคลอด แรกคลอดทันทีทารกมี Apgar score ต่ำกว่า 8 ทารกมีลักษณะเขียวแรกคลอด เกิด persistent
fetalcirculation ทารกจะซึม มีการท้องอืด การเปลี่ยนแปลงทาง metabolic
การกู้ชีพทารกแรกเกิด
การประเมินทารก
A = (Airway)
B = ( Breathing)
C = (circulation)
D = (drug) ให้ยา epinephrine
จุดสำคัญในการกู้ชีพ
อัตราการเต้นของหัวใจที่น้อยกว่า 60 ครั้ง / นาที
การใส่ EET อาจจำเป็นต้องทำในหลายขั้นตอนของการกู้ชีพ
ระยะเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนไม่ควรเกิน 30 วินาที
การให้ออกซิเจนเข้าสู่ปอดทารก
การช่วยเหลือพื้นฐานหรือขั้นต้น (Basic step)
การดูแลเรื่องความอบอุ่นและป้องกันการสูญเสียความร้อนให้แก่ทารก
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง (Clearing the airway)
การดูดเสมหะ (Suctioning)
Clearing the airway of meconium ในกรณีที่น้ำคร่ำของมารดามีขี้เทาปนเปื้อน
Tactile stimulation การกระตุ้นทารกควรกระตุ้นโดยการตีหรือดีดฝ่าเท้า หรือใช้ฝ่ามือลูบที่หลังทารก
Oxygen administration
Ventilation
การกระตุ้นการหายใจ ควรให้ออกซิเจนทางสายเข้า face mask แต่ถ้าทารกยังหายใจไม่ดีขึ้นควรให้ positive pressure ventilation (PPV) ด้วยออกซิเจน 100%
Chest compression
Two-finger technique
การเอานิ้วกลางและนิ้วชี้วางลงบนกระดูกหน้าอก
(sternum) ในระดับต่ำกว่าราวนมและเหนือลิ้นปี่ในแนวตรง โดยให้ระดับของนิ้วทั้งสองอยู่ในแนวเดียวกันกดลงลึกประมาณ 1/2 หรือ 3/4 นิ้ว (หรือ1/3 ของ anterior-posterior (AP) diameter ของทรวงอกทารก)
Thumb technique
การเอามือ 2 ข้างโอบรอบทรวงอกของทารก โดยให้ฝ่ามือแนบ
กับแผ่นหลังของทารก แล้ววางนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างบนกระดูกหน้าอก (sternum) ชิดกันหรือนิ้วหัวแม่มือทั้งสองอาจวางซ้อนกันถ้าหากทรวงอกของทารกเล็กมาก กดลงลึกประมาณ 1/2 หรือ 3/4 นิ้ว
Administration of medication or fluids
Epinephrine 1: 10,000 concentration Dosage 0. 1 – 0. 3 mL/kg of 1: 10,000solution
Sodiumbicarbonate 4.2% (5 mEq/10 mL) concentration Dosage 2 mEq/kg และRate 1 mEq/kgper minute
Naloxone hydrochloride 0.4 mg/mL หรือ 1.0 mg/mL solution Dosage 0.1 mq/kg
Isotonic crystalloid ( normalsaline or Ringer's lactate) for volume expansion Dosage 10 mL/kg
ภาวะสูดสำลักขี้เทาเข้าปอด (Meconium aspiration syndrome)
ภาวะหายใจลำบากที่เกิดจากการที่ทารกสูดสำ ลักขี้เทาซึ่งปน
ในน้ำคร่ำเข้าทางเดินหายใจ ปอด
สาเหตุ
ทารกได้รับออกซิเจนระหว่างที่อยู่ในครรภ์ไม่พอ จะทำให้ทารกถ่ายขี้เทาออกมา ร่วมกับมีการหายใจเข้า และการหายใจเข้า ระหว่างที่อยู่ในครรภ จะทำให้ทารกหายใจเอาน้ำคร่ำเข้าสู่ปอด แล้วอุดกั้นทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรวิทยา
ทารกสำลักขี้เทาเข้าปอด จะเกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ เกิด ballvalve effect ในปอด ลมเข้าปอดได้แต่ระบายออกไม่ได้ ทำให้ถุงลมโป่งและแตก (pneumothorax)
อาการ
2-3 ชั่วโมง หลังจากขี้เทาเข้าไปอุดหลอดลม การแลกเปลี่ยนกาซผิดปกติ
มีอาการหายใจเร็ว หอบเหนื่อย หายใจลำบาก มีการดึงรั้งของช่องซี่โครงอาการเขียว อกโป่ง เสียงปอดผิดปกติจะได้ยินเสียง crepitation และ rhonchi อาจพบมีขี้เทาติดตามเล็บผิวหนังและสายสะดือ ทำให้สายสะดือมีสีเหลือง (yellowish staining)
ปัญหาจากการสูดสาลักขี้เทา
air leak syndrome
pneumothorax
chemical inflammation
Atelectasis
การดูแลทารก
ระยะก่อนคลอด
เฝ้าระวังการตั้งครรภ์ที่มีอัตราเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะขี้เทาปนเปื้อนในน้ำคร่ำ เช่น ครรภ์เกินกำหนด ทารกน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
ติดตาม FHS อย่างใกล้ชิด
ทารกที่มีความผิดปกติของ FHS แพทย์พิจารณาการคลอด
ระยะคลอด
เตรียมเครื่องมือ ประสานกุมารแพทย์
เมื่อพบขี้เทาปนเปื้อนในน้ำคร่ำ ทำการดูดน้ำคร่ำและขี้เทาด้วยลูกยางแดง ในปากและจมูกตามลำดับทันทีที่ศีรษะพ้นช่องคลอด
พิจารณาใส่ ETT เพื่อดูดขี้เทาในรายที่มี asphyxia
ภายหลังการดูดขี้เทาในหลอดลม ใส่สายยางดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหารด้วย
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับ oxygen
รัักษาระดับของ oxygen ให้อยู่ในระดับ 80-100 มม.ปรอท
พิจารณาใช้เครื่องช่วยหายใจ