Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติหัตถการ, นางสาวภิรดา สังสนั่น รหัส…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติหัตถการ
การชักนำการคลอด (Induction of labor)
ข้อบ่งชี้
ทางสูติกรรม
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH)
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
PROM ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 wks
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ(choroamnionitis)
abruptio placenta
ทารกพิการแต่กำเนิด
IUGR
Oligohydramnios
hydrops fetalis
ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ความหมาย
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 28 wks. หรือทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 1,000 กรัมเพื่อให้การคลอดเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการเริ่มต้นของการเจ็บครรภ์เองตามธรรมชาติโดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้คลอดคลอดทางช่องคลอด
ข้อห้าม
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
ทารกท่าขวาง CPD
Twins
Prolapsed cord
Fetal distress
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
ภาวะที่มีเส้นเลือดทอดต่ำหรือ
ผ่านปากมดลูก (vasa previa)
Previous c / s
วิธีการ
Medical
นิยมใช้
Prostaglandin นิยมใช ้E1W และ E2
Oxytocin นิยมใช ้Augmentatin
การพยาบาล
เตรียมสารละลายออกซิโตซินตามแผนการรักษา
เตรียมมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก I < 2 นาที D > 60
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซินเริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะ
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์โดยฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15-30 นาที หากทารกในครรภ์มีภาวะ Fetal distress ต้องหยุดให้ออกซิโตซินทันทีและรายงานแพทย์
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
Surgical
การเจาะถุงน้ำทุนหัว (Amniotomy, Artificial rupture of membran)
นิยมใช้เมื่อปากมดลูกนุ่มแล้ว
หรือในรายที่ทำเป็น augmentation
เมื่อการคลอดล่าช้าร่วมกับใช้ oxytocin
สิ่งที่ควรระวังคือการ Engatement
การพยาบาล
เตรียมเครื่องมือ
2.เตรียมผู้คลอด จัดท่า dorsal Recombent
ก่อนแพทย์ลงมือทำพยาบาลต้องฟังเสียงหัวใจทารกและบันทึกไว้
5.ฟังเสียงหัวใจทารกทันทีภายหลังเจาะน้ำทูนหัว
6.Flushing และใส่ผ้าอนามัย
7.ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงไม่ควรลุกไปมา
8.บันทึกความก้าวหน้าของการคลอด และ FHS เป็นระยะๆ
9.วัดสัญญาณชีพ หากมีไข้ให้รายงานแพทย์
10.เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่ชุ่มน้ำหล่อลื่นเด็กเปียกชุ่ม พร้อม flushing
เมื่อน้ำคร่ำไหลออกมาต้องบันทึกเกี่ยวกับลักษณะสีและจำนวนของ Amniotic Fluid
การทำคลอดโดยใช้คีม (Forceps Delivery)
ความหมาย
เป็นวิธีช่วยคลอดโดยผู้ทำคลอดจะใช้คีม (forceps) ดึงศีรษะทารกให้คลอดผ่านทางช่องคลอด โดยที่คีมจะมีหน้าที่แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
การทำเพื่อการรักษาและการป้องกัน (Prophylactic or Elective)
การป้องกันการฉีกขาดของฝีเย็บ
ช่วยลดความกดดันบางประการของผู้คลอด
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ป้องกันสมองถูกทำลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
ด้านมารดา
ไส้ติ่งอักเสบ
สุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ ไทรอยด์
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบ
ผู้คลอดมีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ด้านลูก
สายสะดือพลัดต่ำ
fetal distress
การพยาบาล
การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย ได้แก่ การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ การตรวจร่างกายทั่วไป การวัดสัญญานชีพ การตรวจท้อง
3.ภาวะจิตสังคม
ขั้นตอนของการทำคลอดโดยใช้คีม
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อตามขั้นตอนการทำคลอดปกติ
สวนปัสสาวะให้ผู้คลอด
แพทย์ผู้ทำประเมินสภาพช่องเชิงกรานผู้คลอดโดยการตรวจภายใน
เมื่อใส่ใบพิ่มทั้งสองข้างครบจึงล็อค
Removal แก้ปลดล็อคนำใบคีมขวาออกก่อนจึงนำใบคีมซ้ายออก
Birth of Head ทำคลอดศีรษะเหมือนตามปกติตามกลไกการคลอด
การใส่ใบคีมต้องใส่ข้างซ้ายก่อนข้างขวา
Tentative traction เป็นการทดลองก่อนดึงจริง
Traction ควรดึงพร้อมกับมดลูกหดรัดตัวให้ดึงแต่ละครั้งนาน 1-2 นาทีขณะพักให้แก้ล็อคออก
Vacuum Extraction
ความหมาย
การใช้เครื่องสุญญากาศในการเสริมแรงจากการหดรัดตัวของมดลูกขณะเจ็บครรภ์ ร่วมกับแรงเบ่งของผู้คลอด ดึงศีรษะทารกออกจากช่องคลอด โโยดึงเวลาที่มดลูกหดรัดตัว
ข้อบ่งชี้
มารดา
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
ระยะคลอดยาวนาน
มีโรคภาวะแทรกซ้อน เช่น shock ,PIH
ทารก
การตหมุนศีรษะทารกผิดปกติ
อยู่ในภาวะ Fetal distress ที่ไม่รุนแรง
ข้อห้าม
ทารกท่าผิดปกติ
คลอดทารกก่อนกำหนด
สายสะดือพลัดต่ำ
ศีรษะทารกอยู่สูงเหนืองช่องเชิงกราน
Fetal distress
การพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมร่างกายและจิตใจ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์
เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทุก 15 นาที
ประเมินการหดรัดตัวขของมดลูก
ประเมินสภาพทารกแรกเกิด
ลดความดันเครื่องสุญญากาศ
ปรับเป็น 0 kg/cm2 เมื่อศีรษะคลอด
ลดความดันจนถึง 0.6-0.8 kg/cm2
หลังทำ
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอดและฝีเย็บ
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาทารก
การล้วงรก (Manual removal of placenta)
การพยาบาล
การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
เตรียมผู้คลอด
ผู้คลอดอยู่ในท่า lithotomy และบอกผู้ป่วยทราบสาเหตุที่ต้องล้วงรก และขั้นตอนในการล้วงรก
· ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรเป็น LRS 1,000 mL IV drip ด้วยอัตราที่เหมาะสมทดแทนเลือดที่เสียไป และขึ้นกับ vital sign ของผู้ป่วยถ้าเสียเลือดมากอาจเปิดเส้น 2 เส้น เตรียมพร้อมนำเลือดมาให้
· ให้เจ้าหน้าที่ตรวจวัดความดันโลหิต และชีพจรเป็นระยะๆ ขณะปฏิบัติหัตถการ
· ทำความสะอาดอวัยวะเพศภายนอกใหม่อีกครั้งหนึ่ง และคลุมผ้าช่องเปิดไว้เฉพาะบริเวณปากช่องคลอด
· ให้ general anesthesia with endotracheal intubation เพื่อให้ผู้คลอดไม่เจ็บและ relax (ถ้าเป็นไปได้ควรให้วิสัญญีแพทย์เป็นผู้ให้ยาสลบ
สวนปัสสาวะ
การตรวจรกหลังคลอด
ป้องกันการตกเลือดโดยการคลึงมดลูกให้แข็งตัว และ ให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจรกและเยื่อหุ้มเด็กให้ถี่ถ้วนอีกครั้งหนึ่ง
ตรวจช่องทางคลอด รวมทั้งปากมดลูก ถ้ามีการฉีกขาดต้องเย็บซ่อมให้เรียบร้อย เย็บซ่อมฝีเย็บ
ให้ยาปฏิชีวนะ
วัดความดันโลหิต ชีพจร และตรวจดูอาการทั่วไปจนผู้คลอดรู้สึกตัวดี
ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดตรึงสายสะดือไว้ อีกมือหนึ่งตามสายสะดือเข้าไปในโพรงมดลูก โดยห่อมือเป็นรูปกรวย เมื่อเข้าไปถึงโพรงมดลูกแล้วย้ายมือข้างที่จับสายสะดือมาวางไว้ที่หน้าท้อง และจับยอดมดลูกตรึงไว้เพื่อให้อยู่กับที่ใช้มือข้างที่อยู่ในโพรงมดลูกคลำหาขอบรก เมื่อพบขอบรกแล้วใช้สันมือทางด้านนิ้วก้อย (ไม่ใช้ปลายนิ้วตะกุย) เซาะรกแยกจากผนังโพรงมดลูกจนรกหลุดทั้งอัน แล้วจึงดึงรกออกมาทั้งหมดทีเดียว
ความหมาย
เป็นการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อช่วยเหลือผู้คลอดในระยะที่ 3 ของการคลอด กรณีรกไม่คลอด หรือมีการฝังตัวแน่นของรก
ฺBreech assisting
ความหมาย
การช่วยคลอดทารกท่าก้นทางช่องคลอด
ชนิดของการคลอดท่าก้น
Complete breech : ท่าก้นชนิดสมบูรณ์
Incomplete breech : ท่าก้นชนิดไม่สมบูรณ์
Frank breech
การช่วยคลอดทางช่องคลอด
1.Spontaneous breech delivery: ให้มารดาออกแรงเบ่งคลอดเอง
Partial breech extraction, breech assisting หรือ assisted breech ช่วยเหลือเมื่อสะดือพ้นปากช่องคลอด
3.Total breech extraction: โดยทำคลอดทั้งตัว ได้แก่ สะโพกไหล่และศีรษะตามกลไกการคลอด
การผ่าตัดนำทารกออกมาทางหน้าท้อง
ครรภ์แรก, อายุ ๓๕ ปี, ตั้งครรภ์ยากประวัติคลอดยาก, เชิงกรานแคบทารกขนาดใหญ่น้ำหนักเกิน ๓๕๐๐ g, เท้าเป็นส่วนนำ, ศีรษะแหงน, Post term, ระยะการคลอดยาวนาน, PROM, มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
อันตรายของการคลอดท่าก้น
ต่อมารดา
ติดเชื้อ
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
การหักของกระดูกไหปลาร้ากระดูกแขนขากระดูกซี่โครงการเคลื่อนของข้อสะโพกและไหล่
ตับแตกม้านแตกมักเกิดจากการจับแรงเกินไป
เลือดออกในสมอง
ทารกขาด O2
การติดขัดของศีรษะ
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (Caesarean section)
ข้อบ่งชี้
ช่องเชิงกรานแคบ
Pelvic tumor
Placenta Previa
Abruptio placenta
Macrosomia
Fetal distress
Rh. Isoimmunization
เคยเย็บตกแต่งช่องคลอดมาก่อน
Previous uterrine scar
Uterine Dsyfunction
Sevre Preclampsia
ความหมาย
การทำคลอดโดยการผ่าที่หน้าท้องและผนังมดลูกเพื่อนำเด็กออก
การพยาบาลหลัง C/S
ป้องกันการตกเลือด
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาสลบ
ดูแลบรรเทาความเจ็บปวด
ป้องกันภาวะ Dehydration fluid over load
ป้องกันปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
ป้องภาวะติดเชื้อ
ป้องกันภาวะท้องอืด
Promotion of bonding
ชนิดของการผ่าตัด
Classical Ceasarean section เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
Low cervical Ceasarean section
Transverse incision คือการลงมีดในแนวขวาง
Low vertical incision ที่ midline ของ lower uterine
การเตรียมเพื่อทำ C/S
ประเมินสภาพมารดาและทารก
อธิบายสาเหตุความจำเป็นและขั้นตอนการทำ
ประเมินความวิตกกังวลและการใช้ยาระบายความรู้สึก
อธิบายกี่ยวกับการใช้ยาระงับความรู้สึก
อธิบายเกี่ยวกับ Electrococagulation
อธิบายสิ่งที่อาจเกิดขึ้นหลัง C/S
นางสาวภิรดา สังสนั่น
รหัส 602701073