Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น A beautiful mild, image, อ้างอิง: มาโนช หล่อตระกูล.(2554)…
ภาพยนต์สั้น A beautiful mild
สาเหตุ
ทฤษฎี
1.เป็นความผิดปกติที่ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
กรรมพันธุ์
ญาติของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคจิตเภทสูงกว่าประชากรทั่วไป
ระบบสารเคมีในสมอง
สารเคมีในสมองที่ชื่อว่าโดปามีน (dopamine) ในบางบริเวณของสมอง มีการทำงานมากเกินไป และพบว่าการที่ยารักษาโรคจิตรักษาโรคนี้ได้เป็นจากการที่ยาไปออกฤทธิ์ยับยั้งการออกฤทธิ์ของสารโดปามีน
ความผิดปกติในส่วนอื่นๆ ของสมอง
ช่องในสมอง (ventricle) โตกว่าปกติ ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอาการด้านลบเป็นอาการเด่น
ครอบครัวนั้นพบว่าสภาพครอบครัวมีผลต่อการกำเริบของโรค ชอบตำหนิติเตียนผู้ป่วย มีท่าทีไม่เป็นมิตร หรือเข้าไปจู้จี้ยุ่งเกี่ยวกับผู้ป่วยมากเกินไป
ยาหรือสารต่างๆ เรื่องของจิตใจหรือสภาพแวดล้อมที่กดดัน หรือเป็นจากหลายๆ ประการร่วมกัน
กรณีศึกษา
ด้านชีวเคมีของสมอง
สารสื่อประสาทในสมอง
สารเคมีในสมองที่ชื่อว่าโดปามีน (dopamine) ในบางบริเวณของสมอง มีการทำงานมากเกินไป
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งประจำ
การวินิจฉัย ตามหลัก DSM-5
A :มีลักษณะอาการต่อไปนี้ 2 อาการขึ้นไป นาน 2 เดือน
อาการหลงผิด
อาการประสาทหลอน
ความผิดปกติของกระบวนการคิด (disorganized speech)
อาการด้านลบ (negative symptoms)
พูดน้อย (alogia)
สีหน้าของผู้ป่วยเรียบเฉย (Affective flattening )
ขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชา (Avolition)
เก็บตัว เฉยๆ ไม่ค่อยแสดงออก (Asociality)
B: มีปัญหาในด้านการงาน สัมพันธภาพและการดูแลสุขอนามัยตนเองตนเอง
C: มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไปโดยต้องมีอาการแสดงข้างต้นอย่างน้อย 1 เดือน
D. ไม่มีอาการเข้าได้กับโรค Schizoaffective disorder และ Depressive disorder หรือ Bipolar disorder ที่มีอาการทางจิต
ร่วมด้วย
E. อาการไม่ได้เกิดจำกสาเหตุทาร่างกาย หรือการใช้สารเสพติด
ข้อวินิจฉัยและการพยาบาล
1.อาจเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วยและผู้อื่นเนื่องจากมีความคิดหลงผิด
การพยาบาล
พยาบาลต้องยอมรับในความคิดหลงผิดของผู้ป่วย โดยพยาบาลไม่ควรโต้แย้ง หรือท้าทายว่าที่ผู้ปวยเล่าให้ฟังนั้นไม่จริง และพยาบาลไม่ต้องปฏิบัติตามที่ผู้ป่วยเชื่อ และไม่ควรนำคำพูดของผู้ป้วยไปพูดล้อเล่น
3.พยาบาลต้องให้ความสำคัญกับการสร้างสัมพันธภาพพื่อการบำบัดอย่างสม่ำเสมอเพื่อ
เป็นแนวทางให้ผู้ป่วยได้พูดถึงความคิดของเขาได้อย่างอิสระ และเพื่อได้รับฟังความคิดของผู้ป่วย
พยาบาลต้องประเมินความคิดของผู้ป่วยว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรมและการกระทำของผู้ป่วย
การเข้าไปเปลี่ยนความคิดของผู้ป่วยนั้นกระทำได้ค่อนข้างยาก แต่ถ้าผู้ป่วยมีความไว้วางใจและเชื่อถือในตัวพยาบาล การแสดงความคิดเห็นที่ขัดแย้งกัน ด้วยการให้ความจริง( Present reality) ยังเป็นที่ยอมรับได้
สำหรับผู้ป่วยที่มีความคิดหลงผิดแบบระแวง พยาบาลควรปฏิบัติดังนี้
5.1 พยาบาลต้องไม่ทำให้ผู้ป่วยสงสัยในพฤติกรรมของพยาบาล เพราะผู้ป่วยจะระมัดระวังตัว
5.2 การเข้าไปสนทนากับผู้ป่วยต้องแนะนำตัว และบอกวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
5.3 หลีกเลี่ยงการเข้าไปจับต้องตัวผู้ป่วย และไม่ควรใช้ภาษาหรือกริยาที่ก่อให้เกิดความสงสัยหรือตีความได้ไม่ชัดเจน
วัตุประสงค์
ไม่เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วยและผู้อื่น
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยสามารถยอมรับว่าสิ่งที่ตนเองเห็นเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง
ผู้ป่วยสามารถรับฟังเเละยอมรับคำพูดจากพยาบาล
ผู้ป่วยไม่เเสดงพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเองเเละผู้อื่น
4.ผู้ป่วยสามารถเเสดงสัมพันธภาพร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
5.ผู้ป่วยสามารถควบคุมตนเองได้เมื่อถูกกระตุ้นต่อสิ่งเร้า
2.ครอบครัวไม่สามารถเผชิญกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาล
2.เตรียมญาติในการดูแล
จัดให้มีหน่วยงานให้คำแนะนำ และช่วยเเก้ปัญหาเมื่อครอบครัวเผชิญภาวะวิกฤตต่างๆเนื่องมาจากการป่วยทางจิตเวช
1.พยาบาลสร้างสัมพันธภาพกับครอบครัวของผู้ป่วย พร้อมกับประเมินสภาพทั่วไปของครอบครัว
วัตถุประสงค์
ครอบครัวสามารถเผชิญกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้
เกณฑ์การประเมิน
ญาติมีความรู้ความเข้าใจเเละสามารถยอมรับพฤติกรรมของผู้ป่วยได้
ญาติสามารถใช้คำพูดกับผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
ญาติสามารถบอกได้ว่าสามารถขอคำเเนะนำจากสุขภาพจิตได้จากที่ไหน
พระเอกในเรื่องเป็นโรคอะไร
Paranoid Schizophrenia
จิตเภทชนิดหวาดระแวง เป็นจิตเภทที่พบได้มากที่สุดในเกือบทุกส่วนของโลก อาการทางคลินิกที่เด่นๆ
ก็คือ อาการหลงผิด ซึ่งมักเป็นชนิดหวาดระแวงอย่างคงที่ โดยปกติจะมีอาการประสาทหลอนร่วมด้วย
โดยเฉพาะอาการหูแว่ว และพบความแปรปรวนของการรับรู้ สำหรับความคิดผิดปกติทางอารมณ์ ความตั้งใจ
(Volition) คำพูดและอาการ กำรเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ( Catatonia ) ไม่ใช่อาการสำคัญ
อาการและอาการแสดง
กรณีศึกษา
การแสดงอารมณ์ (Affect)
ผู้ป่วยมักมีสีหน้าเรียบเฉย แต่จะแสดงสีหน้า แววตา และท่าทีหวาดกลัวเมื่อพบจิตแพทย์
พื้นฐานอารมณ์ (Mood)
ผู้ป่วยบอกว่าเขาเป็นคนใจเย็น ไม่ชอบยุ่งกับใคร แต่การมีคนมาสะกดรอยตามทำให้เขากลัวและกังวลอย่างมาก
การรับรู้ (Orientation)
รับรู้วัน เวลา และสถานที่ได้ แต่บอกว่าจิตแพทย์ที่รักษาเขาเป็นสายลับ ผู้ป่วยจึงไม่ให้ความร่วมมือในการรักษาเท่าที่ควร
การตัดสินใจ (Judgment)
ตัดสินใจได้ค่อนข้างเหมาะสม แต่คิดช้า และมีท่าทีหวาดระแวงเกือบตลอดเวลา
การคิด (Thought)
ผู้ป่วยยังคงมีความเชื่อว่าตนเองเป็นสายลับ ถูกเรียกตัวให้ไปทำหน้าที่อย่างลับๆ และกำลังถูกปองร้ายจากกลุ่มคนที่เป็นสายลับ
ความจำ (Memory)
มีความจำเฉพาะหน้า (Immediate and Recall memory) ความจำระยะสั้น (Recent memory) และความจำระยะยาว (Remote memory) เป็นปกติ สามารถจำกลุ่มตัวเลขยากๆยาวๆได้เป็นอย่างดี
ลักษณะการพูด (Speech)
พูดตะกุกตะกักในบางครั้ง แต่เมื่อพูดถึงเรื่องการเป็นสายลับ การถูกสะกดรอยตามจะพูดรัว เร็ว
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
(antianxiety)
ผลข้างเคียง
ง่วงนอน ง่วงซึม หรือมีอาการคล้ายเมาค้าง
ฝันร้าย
ความจำบกพร่อง
สมรรถภาพทางเพศลดลง
กลุ่มยา เบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepine)
กลไกการออกฤทธิ์
ตัวยาจะซึมผ่านเข้าไปในสมองและออกฤทธิ์ขัดขวางการทำงานของสารเคมีที่เป็นสารสื่อประสาทที่เรียกว่า GABA (Gamma amino butyric acid) จึงส่งผลให้สมองตอบสนองต่ออาการของโรคไปในทิศทางที่ดีขึ้น
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
(antipshycotic)
ผลข้างเคียงของการรักษาด้วยยา
ผิวหนังไวต่อแสงแดด
ตาสู้แสงไม่ได้
ง่วงซึม
ปากแห้ง
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง 5 HT receptor ทำให้มีฤทธิ์กด ภาวะประสาทหลอน ของผู้ป่วยโรคจิต
กลุ่มยาฟีโนไทอาซีน (Phenothiazine)
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ECT 1 course (5 times per week/ 10 weeks)
ผลข้างเคียงของการรักษาด้วยไฟฟ้า
หลังทำการรักษาระยะสั้น
งุนงง สับสนชั่วคราว ปวดเมื่อย ปวดศีรษะ
หลังทำการรักษาระยะยาว
อาจมีความจำบกพร่อง หลงลืม
ขณะทำการรักษา
ความดันสูงต่ำไม่สมำเสมอ หัวใจเต้นผิดปกติ
การรักษาด้านจิตสังคม
ครอบครัวบำบัด การให้คำแนะนำแก่ครอบครัว
นิเวศน์บำบัด (milleu therapy) เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาลเพื่อช่วยส่งเสริม
ขบวนการรักษา ประกอบด้วย การจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในหอผู้ป่วย
กลุ่มบำบัด (group therapy) เป็นการจัดกิจกรรมกลุ่มระหว่างผู้ปวย โดยส่งเสริมให้เกิด
ความรู้สึกว่ามีเพื่อน มีคนเข้าใจ ไม่โดดเตียว มีการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาและให้คำแนะนำแก่กัน ฝึกท้กษะทางสังคม เน้นการสนับสนุนให้กำลังใจ
จิตบำบัด(psychotherapy) ใช้วิธีการของจิตบำบัดชนิดประดับประคอง ผู้รักษาพึ่งตั้ง
เป๋าหมายตามที่เป็นจริงและผู้ป่วยสามารถนำไปปฏิบัติได้
กฎหมาย พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551
มาตรา 23
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิต คือมีภาวะอันตรายหรือ มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือตำรวจโดยเร็ว
มาตรา 24
เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือตำรวจได้รับแจ้ง หรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิต ให้ดำเนินการนำตัวผู้นั้นไปยังสถานพยาบาล เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย โดยการนำตัวบุคคลดังกล่าวไปสถานพยาบาล จะไม่สามารถผูกมัดร่างกายของบุคลนั้นได้ เว้นแต่ความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อบุคคลนั้นเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่น
มาตรา 27
การตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้น ต้องให้แล้วเสร็จ ภายใน 48 ชั่วโมง นับตั้งแต่บุคคลนั้นมาถึงสถานพยาบาล และผู้ที่ทำการตรวจวินิจฉัยต้องบันทึกรายละเอียดในแบบรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้น
มาตรา 18
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy, ECT) ให้กระทำได้ในกรณีที่ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร และต้องรับทราบถึงเหตุผลความจำเป็น ความเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน ประโยชน์ของการบำบัด แต่ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็น การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้าต้องได้รับความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ส่วนการให้ความยินยอมเพื่อรับการรักษา ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไม่ถึง ๑๘ ปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต หรือผู้บกพร่องทางพัฒนาการหรือสติปัญญา ให้คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล เป็นผู้ให้ความยินยอมแทน
มาตรา 17
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 31
ในระหว่างการบำบัดรักษา เมื่อแพทย์ผู้บำบัดรักษาเห็นว่า ผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและผู้ป่วยไม่มีภาวะอันตรายแล้ว ให้แพทย์จำหน่ายผู้ป่วยดังกล่าวออกจากสถานพยาบาล และรายงานผลการรักษาบำบัดรักษาและการจำหน่ายผู้ป่วยให้คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาทราบโดยไม่ช้า ทั้งนี้ ให้แพทย์ติดตามผลการบำบัดรักษาเป็นระยะ
เทคนิคบทสนทนาในการบำบัด
การค้นหาข้อมูลให้มากขึ้น(Exploring)
การให้ความจริง (presenting reality)
การขอความกระจ่าง (Clarifying or seeking clarification)
กระตุ้นให้เปิดเผยเรื่องราว (Giving general lead)
อ้างอิง: มาโนช หล่อตระกูล.(2554).
โรคจิตเภท Schizophrenia.
สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563.สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/โรคจิตเภท%20%28Schizophrenia%29.pdf
อ้างอิง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (2553).
บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า.
(
https://example.com
)
อ้างอิง :ไม่ปรากฏผู้แต่ง.(2560).
ไดอะซีแพม (Diazepam)
.สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563.สืบค้นจาก
https://medthai.com/%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%A1/
มาโนช หล่อตระกูล.(2554).
โรคจิตเภท Schizophrenia
.สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563.สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/โรคจิตเภท%20%28Schizophrenia%29.pdf
มาโนช หล่อตระกูล.(2554).
โรคจิตเภท Schizophrenia
.สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563.สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/โรคจิตเภท%20%28Schizophrenia%29.pdf
อ้างอิง: ชดาพิมพ์ เผ่าสวัสดิ์.(2551)
.พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551.
สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563.สืบค้นจาก
https://th.rajanukul.go.th/preview-3682.html*
อ้างอิง จิตรา ศิริพัฒน์ .(2563) .
เครื่องมือในการบําบัด
ทางการพยาบาลจิตเวช
.สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนยน 2563 จาก
https://prezi.com/p/uy-obu5qvj3n/presentation/
อ้างอิง มาโนช หล่อตระกูล.(2554).
โรคจิตเภท Schizophrenia.
สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563.สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/โรคจิตเภท%20%28Schizophrenia%29.pdf
อ้างอิง พิมพ์วลัญช์ อายุวัฒน์,ภาสินี โทอินทร์ และ ปรานต์ศศิ เหล่ารัตน์ศรี. (2558).
F 20 : โรคจิตเภท (Schizophrenia)
. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563. สืบค้นจาก
https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2018/academic/1531378592828010009140.pdf
อ้างอิง นิตยา ศรีจำนง. (2561).
การพยาบาลผู้ที่มีคสามผิดปกติด้านความคิดและการรับรู้การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช
. สืบค้นวันที่ 25 มิถุนายน2563จาก ้
https://www.elnurse.ssru.ac.th/nitaya_si/pluginfile.php/22/block_html/content/
.
อ้างอิง พิมพ์วลัญช์ อายุวัฒน์,ภาสินี โทอินทร์ และ ปรานต์ศศิ เหล่ารัตน์ศรี. (2558).
F 20 : โรคจิตเภท (Schizophrenia)
. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2563. สืบค้นจาก
https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2018/academic/1531378592828010009140.pd