Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์, นางสาวกมลพร ปันทการ…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการ
พ.ศ. 2472 มีการแก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบโรคศิลปะเป็นการทำต่อมนุษย์เท่านั้น
พ.ศ. 2480 พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ
แผนโบราณ ใช้ความรู้จากตำรา/การเรียนสืบต่อกันมา
แผนปัจจุบัน ศึกษาตามหลักทางวิทยาศาสตร์
เดิมอยู่ในความควบคุมของแพทย์ ภายใต้“พระราชบัญญัติ
การแพทย์ พ.ศ. 2466”
พ.ศ. 2518 เพิ่มอีก 2 สาขา คือกายภาพบำบัดและเทคนิคการแพทย์
กฎหมายเเพ่งและพาณิช
ความหมายและลักษณะ
กฎหมายพาณิชย์ การค้าขาย/กิจการที่ได้ทำในเรื่องหุ้นส่วน บริษัท ประกันภัย ตัวเงิน เป็นต้น
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง วิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น เช่น วิธฟ้อง ศาลที่ฟ้อง เป็นต้น
กฎหมายแพ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
นิติกรรม
ปพพ. มาตรา 149
การใดๆที่ทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร เพื่อผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล
เพื่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
นิติกรรม
การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
เช่น สัญญาจ้างพยาบาลพิเศษ มีหน้าที่ที่ต้องให้การพยาบาลผู้ป่วยซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างอย่างมีมาตรฐาน เป็นต้น
องค์ประกอบของนิติกรรม
การกระทำโดยเจตนา
ชัดแจ้ง เป็นลายลักษณ์อักษร หรือแสดงกิริยา
ปริยาย แสดงเจตนาไม่ชัดเจนแต่ทำให้ต่างฝ่ายต่างเข้าใจว่ามีต้องการใดในกิริยาเช่นนั้น
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
หากนิติกรรมที่ทำนั้นขัดต่อกฎหมาย หรือเป็นการกระทำที่พ้นวิสัยที่มนุษย์จะทำได้ให้ถือเป็นโมฆียะ
ี้นิติกรรมที่ทำขึ้นกับผู้หย่อนความสามารถจะมีผลเป็นโมฆียะ
ให้อำนาจบุคคทำได้โดยชัดแจงหรือกฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ว่าห้ามทำ
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน ไม่ใช่พนักงานของรัฐ
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ผลของการกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งแก่คู่กรณีตามนิติกรรมนั้นๆ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
ฝ่ายเดียว
ี่เกิดผลโดยการแสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่ายเดียว
ีผลผูกพันทางกฎหมาย เช่น พินัยกรรม คำมั่นจะให้รางวัล
หลายฝ่าย
เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
ทุกฝ่ายตกลงยินยอมตามข้อตกลง
ินิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต เช่น การให้โดยเสน่หา สัญญาการซื้อ
ินิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต เช่น พินัยกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน เช่น สัญญาจ้างงาน สัญญาซื้อขาย
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน เช่น การให้โดยเสน่หา สัญญายืมเงินโดยไม่มีดอกเบี้ย
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
บุคคล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติ
ทางแพ่งบรรดาสิทธิหน้าที่ ความรับผิดและทรัพย์สินของผู้ตาย ย่อมตกทอดไปยังทายาท
ทางอาญา โทษของผู้ตายที่ทำผิดจะระงับไป
การสาบสูญ
จากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ติดต่อกัน 5 ปี ในเหตุการณ์ปกติ
เป็นเวลา 2 ปี ในกรณีที่มีเหตุอันตรายจากการรบ การสงคราม หรือยานพาหนะอับปาง
ินิติบุคคล
กฎหมายสมมติให้เป็นบุคคล เพื่อให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
อาจเป็นคนกลุ่มหนึ่ง ทรัพย์สินหรือกิจการที่จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ สมาคม
้ผู้เยาว์(Minor)
นิติกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว โดยไม่มีเงื่อนไขผูกพันใดๆ
ินิติกรรมที่สมควรแก่ฐานะและจำเป็นแก่การดำรงชีพ
นิติกรรมการจำหน่ายทรัพย์สิน ประกอบธุรกิจการค้า
คนไร้ความสามารถ (Incompetence)
คนวิกลจริต (Unsound mind) หรือ อยู่ในภาวะผัก (Vegetative state)
การรักษาพยาบาลของคนไร้ความสามารถจึงต้องได้รับความยินยอมจากผู้อนุบาล
คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi – incompetence)
กายพิการ, จิตฟั่นเฟือน, ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพล, ติดสุรายาเมา
ใช้สิทธิและปฏิบัติหน้าที่อย่างธรรมดาทั่วไป รวมทั้งการยินยอมรับการรักษาพยาบาล
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆียกรรม
ความสามารถของบุคคล ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายเป็นโมฆียะ
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
เช่น นาง ก. ต้องการว่าจ้างพยาบาลวิชาชีพเฝ้าไข้สามี และเข้าใจผิดคิดว่า นาง ข. เป็นพยาบาลวิชาชีพ เมื่อทราบความจริง นาง ก. สามารถบอกเลิกจ้างได
นาง ก. ทำสัญญาขายบ้านกับ นาง ข. โดยบอกว่าน้ำไม่ท่วม แต่จริงๆน้ำท่วม
เช่น ผู้ต้องหาใช้มีดจี้ที่หลังพยาบาล เพื่อบังคับผู้ป่วยลงลายมือยกมรดกให้ ถ้าไม่ทำจะแทงพยาบาล
การบังคับชำระหนี้
โมฆะกรรม
นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
กฎหมายกำหนดให้ทำตามแบบเท่านั้น ถ้าไม่ทำตามถือว่านิติกรรมนั้นเป็นโมฆะ
เช่น จดทะเบียนต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
เช่น ทำสัญญาว่าจ้าง นาง ก. พยาบาลวิชาชีพเฝ้าไข้แต่ นาง ข. มาเฝ้าไข้แทน โดยผู้จ้างเข้าใจว่าเป็น นาง ก.
ความยินยอมทางการแพทย์ที่จะมีผลตามกฎหมายต้องเป็นความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว (Informed consent)
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
เช่น สัญญาซื้อขายอาวุธปืนเถื่อน สัญญาชุบชีวิตคนตาย เป็นต้น นิติกรรมเหล่านี้จึงเสียเปล่าเสมือนไม่มีข้อตกลงใดๆ
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือไม่สามารถเป็นไปได้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความเสียหายที่คำนวณราคาเป็นเงินได้
เช่น นาย ก. ท าร้าย นาย ข. จนแขนหักต้องเสียค่ารักษาพยาบาล ค่าพาหนะในการเดินทางไปโรงพยาบาล และค่าสูญเสียความสามารถในการประกอบการงาน
ความเสียหายที่ไม่อาจคำนวณราคาเป็นตัวเงินได้
เช่น หมิ่นประมาท ความเศร้าเสียใจที่บุตรถูกรถชนตาย เป็นต้น
ค่าสินไหมทดแทนที่ผู้เสียหายจะเรียกร้องได้ตามกฎหมายกำหนด
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นอย่างอื่น
ค่าขาดไร้อุปการะ
ค่าขาดแรงงาน
ถ้ายังไม่ตายทันที สามารถเรียกค่ารักษาพยาบาลที่จำเป็นเพราะไม่สามารถประกอบการงานระหว่างเจ็บป่วย
กรณีเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ผู้กระทำผิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอันจำเป็น และสมควรแก่ฐานะ
ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
ค่าเสียความสามารถในการประกอบอาชีพ ทั้งปัจจุบันและอนาคต
ค่าขาดแรงงานในครัวเรือนหรืออุตสาหกรรมของบุคคลภายนอก
ค่าทำขวัญ
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สัญญา และความรับผิดจากการละเมิด
สัญญา
ตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย มีวัตถุประสงค์ให้เกิดผลผูกพันโดยชอบตามกฎหมาย
บุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่แสดงเจตนาด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกัน
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
กระทำต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมายด้วยการฝ่าฝืนข้อห้าม
เช่น พยาบาลไม่เดินดูอาการผู้ป่วยตามคำร้องขอของญาติ, ผูกยึดผู้ป่วยโดยไม่มีความจ าเป็น
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น โดยรู้สำนึกถึงผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่บุคคลอื่น
เช่น นาง ข. พยาบาลวิชาชีพไม่ยอมดูดเสมหะให้ นาย ก. ที่ไม่รู้สึกตัว เพราะโกรธแทนบุตรของตน
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
ความเสียหายแก่ชีวิต เช่น การทำผ่าตัดผิดพลาดทำให้ผู้ป่วยเสียเลือดมากและเสียชีวิต เป็นต้น
ความเสียหายแก่ร่างกาย เช่น หรือกรณีที่เด็กชายเจ็บปากเนื่องจากมีตุ่มหนอง และถูกขลิบอวัยวะเพศ (Circumcision) แทนการกรีดหนองออก (Excision) มารดาเด็กสามารถเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้
ความเสียหายแก่อนามัย ความสุขสบายและความรู้สึกต่างๆ เช่น เศร้าใจ
เสียใจ
ความเสียหายแก่เสรีภาพ เช่น การไม่อนุญาตให้ผู้ป่วยกลับบ้านเพราะต้องการเก็บข้อมูลจากผู้ป่วยเพื่อการวิจัย โดยไม่บอกความจริงให้ผู้ป่วยทราบ เป็นต้น
ความเสียหายแก่ทรัพย์สินและสิทธิต่างๆ เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรต่างๆ เป็นต้น
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทำไปภายในของเขตอำนาจของตัวแทน
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต ต้องร่วมรับผิดในผลแห่งการละเมิดที่ผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตกระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด เช่น พยาบาลฉีดยาผิด ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต รพ.จ่ายค่าทำขวัญให้ญาติ พยาบาลต้องชดเฉยให้ รพ. อีก
ครูบาอาจารย์นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ หรือชั่วครั้งคราวจะต้องร่วมรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
อายุความ
ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
ภายใน1ปีและไม่เกิน10ปี
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมายและวัตถุประสงค์ของกฎหมายอาญา
ควบคุมความประพฤติของบุคคลให้อยู่ในสังคมด้วยความสงบเรียบร้อย
รักษาโครงสร้างของสังคมให้มั่นคง
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อส่วนตัว
เป็นความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว
กฎหมายบัญญัติประเภทไว้ชัดเจน
ความผิดต่อแผ่นดิน
เป็นความผิดที่สำคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหาย
เช่นนาย ก. ยิง นาย ข. ตาย แม้ญาติ นาย ข. ไม่ฟ้องร้อง อัยการสามารถฟ้อง นาย ก. เพื่อลงโทษตามกฎหมาย
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น โดยใช้ภาษาที่คนทั่วไปเข้าใจ
การถอดความหมายของข้อความ
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
จะไม่มีผลในการเพิ่มโทษแก่บุคคล หากขณะกระทำยัง
ไม่มีกฏหมายบัญญัติว่าการกระทำ
แม้ต่อมาภายหลังมีกฎหมายบัญญัติว่าการการกระทำอย่างเดียวกันนั้นจะเป็นความผิด
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
มีโทษเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน
ในขณะที่กระทำผิดต้องมีกฎหมายบัญญัติความผิด
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
. กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทำโดยเจตนา สำนึกในการที่กระทำ
การกระทำโดยประมาท (Negligence) ทำโดยปราศจากความระมัดระวั
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ได้แก่ กรณีที่บุคคลจ าต้องกระท าเพื่อป้องกันตนเองหรือผู้อื่น ให้พ้นจากอันตราย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ เช่น ความผิดฐานข่มขืนชำเรา ตามมาตรา 276 หากหญิงยินยอมการกระทำของชายก็ไม่เป็นความผิด
เหตุยกเว้นโทษ
การกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน ถ้าผู้กระทำทราบว่าเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แล้วยังทำตามคำสั่งจะไม่ได้รับยกเว้นโทษ
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี ไม่ต้องรับโทษเพราะเด็กยังไม่มีวุฒิภาวะเพียง
พอที่จะแยกผิดชอบชั่วดีได้
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต ไม่สามารถบังคับตนเองได้
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ระหว่างสามี ภรรยาโดยชอบด้วย
กฎหมาย จะได้รับการยกเว้นโทษ ได้แก่ ลักทรัพย
กระทำด้วยความจำเป็น เป็นการกระทำเพราะเหตุถูกบังคับ
เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด ศาลอาจจะ
ลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนด แต่จะไม่ลงโทษไม่ได้
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
เหตุอื่นๆ ในการลดหย่อนหรือบรรเทาโทษ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิดจนกว่าจะมีคำพิพากษาถึงที่สุด
และก่อนมีคำพิพากษาถึงที่สุดจะปฏิบัติต่อผู้ต้องหา
หรือจำเลยเหมือนเป็นผู้กระทำผิดไม่ได้
อายุความ
อายุความฟ้องคดีทั่วไป ระยะเวลาของอายุความแปรตามอัตราโทษตามความผิด
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้ เช่น ความผิดฐานบุกรุกหรือหมิ่นประมาทกฎหมายกำหนดให้ผู้เสียหายต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน
การกระทำ ผู้กระทำต้องรู้ตัวและรู้ว่าตนกำลังทำอะไร
โทษทางอาญา
โทษปรับ การเสียค่าปรับ ถ้าไม่ช าระภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ศาลพิพากษา ผู้นั้นอาจถูกยึดทรัพย์สินหรือกักขังแทนค่าปรับ
โทษกักขัง เป็นโทษที่เปลี่ยนจากโทษอย่างอื่นมาเป็นโทษกักขัง ได้แก่ เปลี่ยนโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน
โทษจำคุก จำกัดเสรีภาพของนักโทษที่ถูกควบคุมไว้ในเรือนจำ
โทษริบทรัพย์สิน
ทรัพย์สินซึ่งบุคคลได้ใช้หรือมีไว้ใช้ในการกระทำความผิดหรือได้มาโดยการกระทำความผิด
ทรัพย์สินซึ่งกฎหมายบัญญัติว่า ผู้ใดทำหรือมีไว้ในครอบครองเป็นความผิด
ทรัพย์สินซึ่งเกี่ยวข้องกับสินบนของเจ้าพนักงาน
โทษประหารชีวิต เป็นโทษสูงสุดสำหรับลงโทษผู้กระทำความผิดคดีอุกฉกรรจ์
ลหุโทษ หมายถึง ความผิดที่ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
การทำงานเพื่อบริการสังคม
ผู้ที่ถูกลงโทษโดยการทำงานบริการสังคม จะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของพนักงานคุมประพฤติ
ผู้ที่จะทำงานบริการสังคมต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข
ในคดีที่ศาลพิพากษาปรับไม่เกิน 200,000 บาท และผู้กระท าผิดมีความประสงค์จะขอทำงานเพื่อบริการสังคมหรือทำงานสาธารณะประโยชน์แทนค่าปรับ
ให้ผู้ดูแลรายงานเกี่ยวกับการทำงานให้ศาลทราบ
ผู้นั้นกระทำความผิดและต้องโทษปรับ แต่ไม่มีเงินชำระค่าปรับ
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ความบกพร่องด้านการบันทึก
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ การแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพกับการปฏิเสธการรักษา
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ เป็นความผิดลหุโทษ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด
แท้งลูก
เสียอวัยวะสืบพันธุ์ หรือความสามารถสืบพันธ์ุ
จิตพิการอย่างเต็มตัว
ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท
ทุุพพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรัง
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า 20 วัน
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย เช่น ให้เลือดผิดหมู่ ไม่ซักประวัติการแพ้ทำให้ผู้ป่วยเกิด anaphylactic shock
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย เช่น ไม่มาขึ้นเวร ไม่ดูแลผู้ป่วย หลับเวร
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย มีแนวปฎิบัติในการรักษาความลับของผู้ป่วย
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
เช่น การปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยบอกว่าเตียงเต็ม
ทางกลับกันกฎหมายปกป้องผู้ที่เจตนาดีที่ช่วยผู้ป่วยฉุกเฉินโดยไม่ประมาท หากเกิดอันตรายผู้กระทำไม่ต้องรับผิดตามหลักที่ เรียกว่า Good Samaritan Act
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
ปลอมเอกสาร การจัดท าใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์เอง แม้ว่าสอบผ่านความรู้ครบ 8 วิชา ถือว่าเป็นการปลอมเอกสาร
ทำหรือรับรองเอกสารเท็จ เช่น เขียนบันทึกทางการพยาบาล โดยไม่ได้ตรวจอาการของผู้ป่วย
การทำให้หญิงแท้งลููก
นางสาวกมลพร ปันทการ 6001211283 SEC B เลขที่58