Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมายอาญา, นางสาวชุติมณฑน์ ชื่นจิตร 6001210606 …
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมายอาญา
ความหมายของกฏหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น
เพื่อควบคุมความประพฤติหรือพฤติกรรมของมนุษย์
หากผู้ใดฝ่าฝืน ย่อมได้รับโทษตามกฎหมาย
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
ออกโดยฝ่ายบริหาร
เช่น กฎหมายกระทรวงกำหนดลักษณะสถานพยาบาลและลักษณะการให้บริการของสถานพยาบาล
ระเบียบและข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
ออกโดยหัวหน้าหน่วยขององค์กร เพื่อกำหนดรายละเอียดวิธีปฏิบัติงาน โดยอาศัยตามพระราชบัญญัติ
เช่น ข้อบังคับสภาาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครรภ์
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree)
กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติ/พระราชกำหนด
ออกโดยฝ่ายบริหาร
ประกาศและคำสั่ง (Announcement/Command)
ออกโดยหัวหน้าของหน่วยงาน เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในหน่วยงาน
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
พระราชบัญญัติ (พรบ)
ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
เป็นการรวบรวมกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ใกล้เคียง ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกัน
พระราชกำหนด (Royal Enactment)
รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้ฝ่ายบริหาร
เพื่อออกข้อบังคับใช้ในกรณีฉุกเฉินที่มีความจพเป็นเร่งด่วน
อื่นๆ
เช่น ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองของตนเอง
ตัวอย่างเช่น
ข้อบัญญัติเมืองพัทยา
ข้อบัญญัติจังหวัด และเทศบัญญัติ
ข้อบัญญติกรุงเทพมหานคร
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law)
กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ และวางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐหรืออำนาจอธิปไตย
กฎหมายสูงสุด
ลักษณะและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรอผู้มีอำนาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอำนาจใรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์)
องค์กรที่ออกกกฎหมาย
รัฐสภา
รัฐบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
เมื่อกฎหมายประกาศแล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย
จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
กฎหมายต้องมีลัษณะเป็นกฎเกณฑ์
ต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดหรือกำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
เมื่อกฎหมายได้ออกมาแล้ว จึงจำเป็นต้องมีสภาพบังคับใช้
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายการเงินการคลัง
กฎหมายธุรกิจ
กฎระเบียบราชการ
กฎหมายสาธารณสุข
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
กำหนดสิธิหรือหน้าท่ีให้บุคคลปฏิบัติ
เช่น กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาส
เช่น วิธพิจารณาความแพ่ง วิธีพิจารณาทางอาญา
กฏหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
องค์กรรัฐมีอำนาจบัญญัติกฎหมาย
บัญญัติขึ้นใช้ในประเทศ
กฎหมายภายนอก
บัญญัติขึ้นจากองค์กรระหว่างประเทศ
เช่น สนธิสัญญา อนุสัญญา
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับใช้ตามกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายอาญา
กฎหมายปกครอง
กฏหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายเอกชน (Private Law)
ตัวอย่างกฎหมาย
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศ
แบ่งออกได้เป็น 3 สาขา
แผนกคดีเมือง
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
กฎหมายมหาชน (Public Law)
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชานชน
ตัวอย่างกฎหมาย
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลคู่
ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญา
ระบบศาลของประเทศไทย
เป็นระบบศาลคู่ แยกจากกันเป็นอิสระ
จะย้ายจากศาลหนึ่งไปดำรงตำแหน่งอีกศาลหนึ่งไม่ได้
มีผู้พิพาทหรือตุลาการของแต่ละศาลโดยเฉพาะ
ระบบศาลเดี่ยว
ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ระบบนี้ใช้กันมากที่สุด
ศาลของประเทศไทย
ศาลยุติธรรม
ศาลอุธรณ์
วินิจฉัยชี้ขาดคำร้องขออุธรณ์ของคู่กรณี
ศาลฎีกา
การวินิจฉัยชี้ขาดของศาลฎีกาถือเป็นที่สุดหรือเป็นคดีแดง
ศาลชั้นต้น
คดีแพ่ง
คดีอาญา
ศาลปกครอง
พิจารณาพิพากษาคดีในทางปกครอง ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ
ศาลรัฐธรรมนูญ
พิจารณาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญเท่านั้น
ศาลทหาร
มีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด ตามกฎหมายพระราชธรรมนูญศาลทหาร
ระบบของกฎหมาย
กฎหมายที่เป็นจารีตประเพณี/กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Common law system)
พิพากษาจากคดีที่คล้ายคลึงกัน เพื่อความเป็นธรรมในกรอบเดียวกัน
ประเทศที่ใช้
อังกฤษ
สหรัฐอเมริกา
แคนาดา
ออสเตรีเลีย
เป็นกฎหมายที่ตัดสินโดยผู้พิพากษา (Judge made law)
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร/ระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
การตีความต้องพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
คำพิพากษาของศาสเป็นเพียงตัวอย่างในการประยุกต์กฎหมายกับข้อเท็จจริง
ศาลจะพิจารณาหลักเกณฑ์ทั่วไป สู่การพิจารณาเฉพาะเรื่อง
ประเทศที่ใช้
ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมัน
ออสเตรีย สเปน
ญี่ปุ่น ไทย จีน
สวิตเซอร์แลนด์
นางสาวชุติมณฑน์ ชื่นจิตร 6001210606 เลขที่ 28 Section A