Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
**ภาพยนต์สั้น A beautiful mind - Coggle Diagram
**ภาพยนต์สั้น A beautiful mind
Schizophrenia paranoid
ผู้ป่วยมีความผิดปกติทางความคิด พฤติกรรม และความรู้สึก จึงทำให้มีผลเสียด้านการดำเนินชีวิต ชัดเจน โดยโรคนี้มีลักษณะเรื้อรัง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองและผู้อื่นเนื่องจากมีอากาประสาทหลอน
กิจกรรมการพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัดกับผู้อื่น ลดเวลาที่ผู้ป่วยอยู่คนเดียว ซึ่งอาจทำให้มีความคิดหมกมุ่นอยู่ในเรื่องเดิมๆ กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น เพื่อให้ผู้ป่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากอาการประสาทหลอน
ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วย ว่ามีระดับการรับรู้เพียงใด มีอาการประสาทหลอนเกิดขึ้นบ้างหรือไม่ และเกิดขึ้นตอนไหน มีการตอบสนองอย่างไร โดยประเมินจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้นและสัมผัสทางกาย เพื่อกำหนดแนวทางการช่วยเหลือได้ถูกต้องและเหมาะสม
ติดตามและประเมินซ้ำเกี่ยวกับพฤติกรรมแยกตัวของผู้ป่วย เช่น ประเมินพฤติกรรมการเก็บตัว แยกตัว เป็นต้น เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการแยกตัว ทั้งนี้หากพบผู้ป่วยแยกตัวไม่ดีขึ้น พิจารณาให้รักษา
สื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผย จริงใจ รักษาคำพูด ให้ข้อมูลอย่างชัดเจนตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการมองเห็นจ้อง หรือระมัดระวังการกระซิบกระซาบต่อหน้าผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยอาจเข้าใจว่า พยาบาลนินทาให้ร้ายหรือระแวง
สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว (One to one relationship) โดยเน้นการสร้างความวางใจและความเชื่อถือ เพื่อให้ผู้ป่วยกล้าระบายความรู้สึกที่มีออกมา
บกพร่องในการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจความต้องการของตนเนื่องจากมีพฤติกรรมแยกตัวจากผู้อื่น
ประเมินลักษณะการสื่อสารของผู้ป่วยว่า มีความพกพร่องอย่างไร เช่น พูดหลายเรื่องผสมกันจนคนฟังไม่เข้าใจ หรือไม่พูด เพราะอาการทางจิต
สร้างสัมพันธภาพแบบ one to one เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย และไว้วางใจ จัดเวลาเข้าไปพบและพูดคุยกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอถึงแม้จะไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้ป่วยพูด หรือผู้ป่วยไม่โต้ตอบ เพราะจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่า ตนเองได้รับการยอมรับและยังเป็นที่ต้องการของผู้อื่น ควรสื่อสารกับผู้ป่วยอย่างชัดเจน เช่น สื่อสารกับผู้ป่วยด้วยประโยคสั้นๆเข้าใจง่ายเรียกชื่อผู้ป่วยให้ถูกต้อง
อาการ
กรณีศึกษา :red_flag:
หวาดระแวงว่ามีคนสะกดรอยตามจะมาทำร้าย
วิ่งหนีด้วยความหวาดกลัวออกจากที่ทำงาน
มีอาการประสาทหลอน หูแว่ว ได้ยินเสียงมีคนมาพูดคุยด้วย
อาการของผู้ป่วยตรงกับกลุ่มอาการ Paranoid type
ตาม DSM-IV :red_flag:
2. Disorganized type
ความคิดกระจัดกระจายไม่เป็นไปในแนวเดียวกัน
แสดงออกมาทางคำพูดหรือท่าทางนี้การแสดงออกด้านอารมณ์จะเรียบเฉย
3.Paranoid type
มีความหมกหมุ่นอยู่กับการหลงผิด
หูแว่ว
1. Catatonic type ความผิดปกติเด่นด้านการเคลื่อนไหว
negativism,
rigidity
stupor
excitement หรือ posturing
4. Undifferentiated type
เป็นผู้ป่วยที่มีอาการเข้ากันได้กับโรคจิตเภทหูแว่ว
แต่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ชัดเจน
5. Residual type
ผู้ป่วยเคยป่วยมีอาการกำเริบชัดเจนอย่างน้อย 1 ครั้ง ในขณะที่ประเมินไม่
อาการด้านลบ เช่น เก็บตัว เฉื่อยชา ไม่สนใจตัวเอง
มีอาการทางจิตด้านการรับรู้
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
ความผิดปกติของระบบประสาท
สมองได้รับความกระทบกระเทือน
ด้านจิตใจ
ประสบการณ์ในวัยเด็กที่ไม่ได้รับความอบอุ่นจากการเลี้ยงดู
สัมพันธภาพกับผู้อื่นบกพร่อง
ไม่เป็นมิตรกับใคร
ประวัติผู้ป่วย
2 ปีก่อนมาโรงพยาบาล
เข้าทำงานเป็นนักคณิตศาสตร์ที่วีลเลอร์แลปส์ (Wheeler Labs) เขาถูกเจ้าหน้าที่กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกาเรียกตัวไปช่วยถอดรหัสทางการทหาร
เขาได้ทำงานอย่างลับๆ จนกระทั่งพบว่ามีคนสะกดรอยตามเขาอยู่ตลอดและพยายามจะทำร้ายเขา ผู้ป่วยกลัวถูกทำร้ายมาก แต่พยายามเก็บเป็นความลับไม่ให้ใครรู้เนื่องจากเขาทำงานเป็นสายลับ
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
เขาเห็นกลุ่มคนสะกดรอยตามเขาไปถึงที่ทำงาน
เขารู้สึกกลัวมากจึงวิ่งหนีจนกระทั่งถูกนำส่งโรงพยาบาล
อายุ 24 ปี เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
การเจ็บป่วยในอดีต
ปฏิเสธการแพ้ยา/อาหารเเละการใช้สารเสพติด
เป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัว มีน้องสาว1คน
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว ไม่ค่อยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ฟัง
สาเหตุจากกรณีศึกษา
ด้านร่างกาย
ความคิด : รู้สึกว่าเพื่อนชอบแกล้ง เพราะเห็นว่าตนเก่งกว่า
มีความคิดหมกมุ่น
แววตาหวาดระแวง
ด้านจิตใจ
เป็นคนเก็บตัว มีปัญหาในการปรับตัวเข้ากับเพื่อน
คิดว่ามีคนมาสะกดรอยตามทำให้กลัวและกังวล
เชื่อว่าตนเองเป็นสายลับของกระทรวงกลาโหม
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตและจิตเวช
มีภาวะอันตราย
ทำร้ายตนเองและผู้อื่น
พกอาวุธ
ทำลายข้าวของ
มีภาวะอันตราย
มีความจำเป็นต้องการได้รับการบำบัดรักษา :check:
มีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นแต่ไม่ยินยอมเข้ารับการรักษา
เจอ แจ้ง ตรวจ ส่ง
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาทางกายหรือการรักษาด้วยไฟฟ้าSomatic หรือ Electroconvulsive Therapy
Family Therapy