Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย, นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล 6001211344 61A -…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมาย
กฎที่มีไว้สำหรับให้มนุษย์หรือประชาชนทุกคนปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความสงบสุขในประเทศ
ลักษณะของกฎหมายและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
1.กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดหรือกำหนกพฤติกรรมคนในสังคม
2.กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอำนาจรัฐ
3.กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั้วไป
เมื่อประกาศใช้แลเว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค
4.กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดความประพฤติของบุคคลดังนั้นบุคคลทุกคน จำต้องปฏิบัติตาม
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์และความสัมพันธ์ของบุคคล
1.กฎหมายมหาชน
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
2.กฎหมายเอกชน
เป็นกฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
3.กฎหมนบระหว่างประเทศ
แผนกคดีเมือง
เป็นกฎหมใายที่กำหนดความสัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชน
แผนกคดีอาญา
เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ในคดีอาญาของบุคคลที่เกิดขึ้นโดยประชาชนของประเทศหนึ่ง หรือประเทศใดทำผิด และประเทศนั้นมีอำนาจในการจับกุมและพิพากษาคดีเพื่อลงโทษบุคคลนั้น
แผนกคดีบุคคล
เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐในทางแพ่งเกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
เป็นกฎหมายที่องค์กรของรัฐที่มีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย บัญญัติขึ้นในประเทศ
กฎหมายภายนอก
เป็นกฎหมายที่บัญญติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
1.กฎหมายสารบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่กำนหดสิทธิและหน้าที่ที่ให้บุคคลปฎิบัติ
2.กฎหมายวิธีสบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายอาญา
กฎหมายปกครอง
กฎหมายที่แบ่งเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายการเงินการคลัง
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายสาธารณสุข
กฎหมายอุตสาหกรรม
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณีหรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
คำพิพากษาของศาลถือเป็นกฎหมาย การพิพากษาคดียึดตามคำพิพากษาเดิม จึงเป็นการพิจารณาคดีเฉพาเรื่องสู่เรื่องทั่วไป
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษารหรือระบบประมวลกฎหมาย
รัฐสภาเป็นผู้ออกกฎหมาย ศาลต้องพิพากษาตัววบทกฎหมาย จึงเป็นการพิจารณาคดีจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่เฉพาะเรื่อง
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
1.รัฐธรรมนูญ
2.พระราชบัญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
พระราชบัญญัติ
พระราชกำหนด
ประมวลกฎหมาย
3.พระราชกฤษฎีกา
4.กฎกระทรวง
5.ระเบียบและข้อบังคับ
6.ปนะกาศและคำสั่ง
7.อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลเดี่ยว
เป็นระบบืั้ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพากททุกประเภท
ระบบศาลคู่
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอ่ญาเท่านั้น โดยประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้
ระบบศาลของประเทศไทย
1.ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาบยที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
2.ศาลยุติธรรม
ศาลชั้นต้น
ศาลแพ่ง
ศาลอาญา
ศาลอุทธรณ์
ศาลฎีกา
3.ศาลปกครอง
เป็นศาลที่ใช้ระบบไต่สวน โดยในแต่ละคดีจะพิจารณาโดยองค์คณะของตุลาการ
4.ศาลทหาร
นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล 6001211344 61A