Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ - Coggle…
บทที่3
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาล และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายแพ่ง
กฎหมายแพ่ง: เป็นส่วนหนึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปพพ.) ที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และ
กฎหมายพาณิชย์: เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง: เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการด าเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่
นิติกรรม
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน หมายถึง ผู้กระทำนิติกรรมต้องแสดงออกในฐานะเอกชน มิใช่เจ้าพนักงานของรัฐ
การกระทำโดยเจตนา เป็นการกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดด้วยใจสมัคร เพื่อให้บุคคลภายนอกรับรู้ถึงความต้องการหรือเจตนาของตนที่จะทำนิติกรรมตามกฎหมาย
การแสดงโดยชัดแจ้ง
การแสดงโดยปริยาย
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย การกระทำที่กฎหมายให้อำนาจบุคคลกระทำได้โดยชัดแจ้ง
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธ ผลของการกระท าที่ชอบด้วยกฎหมายทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งแก่คู่กรณีตามนิติกรรมนั้นๆ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน อาทิ สัญญาจ้างงาน สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาเช่าทรัพย์ เป็นต้น
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน อาทิ การให้โดยเสน่หา สัญญายืมเงินโดยไม่มีดอกเบี้ย เป็นต้น
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต เช่น การให้โดยเสน่หา สัญญาการซื้อ
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต เช่น พินัยกรรม เป็นต้น
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว ได้แก่ นิติกรรมที่เกิดผลโดยการแสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่ายเดียว และมีผลผูกพันทางกฎหมาย
นิติกรรมหลายฝ่าย ได้แก่ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป และทุกฝ่ายตกลงยินยอมตามข้อตกลง
ความหมาย
การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
บุคคล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติ
สาบสูญ
นิติบุคคล
บุคคลบางประเภทที่กฎหมายจำกัดสิทธิในการทำนิติกรรม
คนเสมือนไร้ความสามารถ - บุคคลที่ไม่สามารถจัดทำการงานโดยตนเอง
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
ผู้เยาว์ - บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ในทางกฎหมาย บุคคลจะพ้นจากการ
เป็นผู้เยาว์หรือบรรลุนิติภาวะใน 2 กรณี คือ อายุครบ 20 ปีบริบูรณ
สามีภริยา - เป็นผู้จัดการสินสมรสร่วมกัน จึงต้องให้ความยินยอมซึ่งกันและกันเป็นการทำนิติกรรมบางประเภท
คนไร้ความสามารถ - คนวิกลจริต หรืออยู่ในภาวะผัก ที่คู่สมรส ผู้สืบสันดาน บุพการี ผู้อนุบาล หรือพนักงานอัยการยื่นเรื่องต่อศาล และศาลมีคำสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆียกรรม
ความสามารถของบุคคล
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การบังคับชำระหนี้
เป็นการชำระเงิน ส่งมอบทรัพย์สิน กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อใช้หนี้ หรืองดกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อใช้หนี้
โมฆะกรรม
นิติกรรมที่ไม่ได้ท าให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายก าหนด
การแสดงเจตนาโดยส าคัญผิดในสาระส าคัญแห่งนิติกรรม
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความเสียหายที่คำนวณราคาเป็นเงินได้
ความเสียหายที่ไม่อาจคำนวณราคาเป็นตัวเงินได้
กรณีผู้เสียหายเสียชีวิต ผู้กระทำผิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กรณีเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ผู้กระทำผิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
สัญญา และความรับผิดจากการละเมิด
สัญญา
การกระทำของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกันที่ จะทำหรือเว้นการกระทำ และตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะก่อให้เกิดผลผูกพันโดยชอบตามกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
ความเสียหายแก่ร่างกาย
ความเสียหายแก่อนามัย
ความเสียหายแก่เสรีภาพ
ความเสียหายแก่สินรัพย์และสิทธิต่างๆ
ความเสียหายแก่ชีวิต
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทำไปภายในของเขตอำนาจของตัวแทน ซึ่งกระทำตามที่ตัวการมอบหมาย
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปตามที่ว่าจ้าง
ครูบาอาจารย์นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งได้กระทำระหว่างอยู่ในความดูแลของตน หากพิสูจน์ได้ว่า มิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร
อายุความ
ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ถ้าผู้เสียหายใช้สิทธินั้นร้องเรียนต่อศาลเกินระยะเวลาที่กำหนด ศาลจะมีคำสั่งยกฟ้องได้เนื่องจากคดีขาดอายุความ
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล
และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
เป็นความผิดที่ส าคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายและ
สังคมส่วนรวม
ความผิดต่อส่วนตัว
เป็นความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว และ
กฎหมายบัญญัติประเภทไว้ชัดเจน
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
“ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฏหมาย”
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
การถอดความหมายของข้อความ
หรือศัพท์ต่างๆ ในบทบัญญัติออกมา เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
จะไม่มีผลในการเพิ่มโทษแก่บุคคล หากขณะกระทำยัง
ไม่มีกฏหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ในขณะที่กระทำผิด ต้อง
มีกฎหมายบัญญัติความผิดและโทษเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทำโดยเจตนา - มีความมุ่งหมายจะให้เกิดผลนั้น หากไม่เกิดผลตามความมุ่งหมาย ผู้กระทำมีความผิดฐานพยายามกระทำความผิด
การกระทำโดยประมาท (Negligence) - กระทำโดยไม่ระมัดระวัง
การกระทำโดยไม่เจตนา - ไม่ได้ตั้งใจให้เกิด และไม่คาดคิดว่า
จะเกิดจากการกระทำนั้น
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
เหตุยกเว้นโทษ
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทำตามำาสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย
เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
เหตุอื่นๆ ในการลดหย่อนหรือบรรเทาโทษ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิดจนกว่าจะมีคำพิพากษาถึงที่สุด และก่อนมีคำพิพากษาถึงที่สุดจะปฏิบัติต่อผู้ต้องหา
อายุความ
อายุความฟ้องคดีทั่วไป
ระยะเวลาของอายุความแปรตามอัตราโทษตามความผิด
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
ความผิดฐานบุกรุกหรือหมิ่นประมาท กฎหมายกำหนดให้ผู้เสียหายต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือนนับแต่วันที่รู้เรื่องและรู้ตัวผู้กระทำความผิด
การกระทำ
ผู้กระทำต้องรู้สึกตัวและรู้ว่าตนกำลังทำสิ่งใด
โทษทางอาญา
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษจำคุก
เป็นความผิดมีโทษจ าคุก
ศาลต้องลงโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี
ผู้กระทำความผิดต้องไม่เคยได้รับโทษจำคุกมาก่อน
ลหุโทษ หมายถึง ความผิดที่ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
ศาลคำนึงถึงองค์ประกอบต่อไปนี้ คือ อายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษา สุขภาพ ภาวะแห่งจิต อาชีพ และสิ่งแวดล้อม
โทษริบทรัพย์สิน
ทรัพย์สินซึ่งบุคคลได้ใช้หรือมีไว้ใช้ในการกระทำความผิด หรือได้มาโดยการกระทำความผิด เว้นแต่ทรัพย์สินของผู้อื่นซึ่งมิได้รู้เห็นเป็นใจในการกระทำผิด
ทรัพย์สินซึ่งกฎหมายบัญญัติว่า ผู้ใดทำหรือมีไว้ในครอบครองเป็นความผิด
ทรัพย์สินซึ่งเกี่ยวข้องกับสินบนของเจ้าพนักงานเพื่อจูงใจ ให้รางวัลในการกระทำความผิด
โทษประหารชีวิต
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ (Malpractice / Professional negligence /Professional misconduct)
การปฎิบัติงาน
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร (Failure to communication)
ความบกพร่องด้านการบันทึก (Failure to document)
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ การแพทย์ไม่ถูกต้อง (Failure to use equipment in aresponsible manner)
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ (Failure to assess and monitor)
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ (Failure to follow standard of care)
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย (Failure to act as patient
advocate)
การปฎิเสธการรักษา
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
เสียอวัยวะสืบพันธุ์ หรือความสามารถสืบพันธ
เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด
ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท
หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว
แท้งลูก
จิตพิการอย่างเต็มตัว
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรัง
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า 20 วัน
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย (Confidential disclosure)
ความผิดฐานเปิดเผยความลับมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์
ผู้ป่วยไม่อาจรับผิดชอบหรือตัดสินใจด้วยตนเอง จำเป็นที่แพทย์ต้องเปิดเผยเรื่องราวให้แก่ญาติผู้ป่วยทราบ
คำสั่งศาล
โรคติดต่อร้ายแรงเสี่ยงต่อการแพร่ระบาด
ผู้ป่วยรับรู้และยินยอมให้เปิดเผย
เป็นข้อผูกพันหรือหน้าที่
การรายงานการทุบตีท าร้ายร่างกายในครอบครัว
รายงานบาดแผลที่ผู้ป่วยมารักษา เนื่องจากก่อคดีอาชญากรรม
แนวปฏิบัติในการรักษาความลับของผู้ป่วย
ไม่วางแฟ้มประวัติหรือเขียนการวินิจฉัยไว้ที่ปลายเตียง/หน้าห้องผู้ป่วย
กรณีศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ไม่ควรเขียนนามสกุลจริงของผู้ป่วย
ไม่นำบันทึกรายงานของผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย
ไม่เปิดเผยข้อมูลของผู้ป่วยแก่ญาติหรือคนอื่น โดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
ระมัดระวังการพูดเกี่ยวกับการวินิจฉัย/การรักษาในห้องรวม
ไม่พูดเรื่องของผู้ป่วยในที่สาธารณะ
หากส่งข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยที่เป็นความลับ
อภิปรายข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะกับผู้ร่วมทีมสุขภาพ และเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลเท่านั้น
จัดเก็บรายงานผู้ป่วยไว้เป็นสัดส่วน ทบทวนเมื่อมีการส่งต่อ
โรงพยาบาลควรมีนโยบายจำกัดการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย
จัดทำระเบียบการขอสำเนาเวชระเบียนของผู้ป่วยต่อบุคคลที่สาม
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
ความผิดฐานปลอมเอกสาร
ความผิดฐานท าหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทำให้หญิงแท้งลูก (Induced abortion)
การทำให้ตนเองแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
การพยายามทำให้หญิ งแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย