Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคนิ่วในไต - Coggle Diagram
โรคนิ่วในไต
สาเหตุ
-
- ปัจจัยเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อม เมแทบอลิซึม พันธุกรรม วิถีการดาเนินชีวิต และอุปนิสัยการกินอาหาร
- ชนิดของนิ่วมีหลากหลายชนิด องค์ประกอบส่วนใหญ่ในก้อนนิ่วเป็นผลึกแร่ธาตุ เช่น แคลเซี่ยมออกซาเลต แคลเซียมฟอสเฟต ยูเรต แมกนีเซี่ยมแอมโมเนี่ยมฟอสเฟต เป็นต้น
- สารที่กระตุ้นการก่อผลึกเหล่านี้เรียกว่า “สารก่อนิ่ว” ได้แก่ แคลเซี่ยม ออกซาเลต ฟอสเฟต และกรดยูริก
- สาหรับสารที่ป้องกันการก่อผลึกในปัสสาวะเรียกว่า “สารยับยั้งนิ่ว” ที่สาคัญได้แก่ ซิเทรต โพแทสเซียม และแมกนีเซียม
อาการ
- มีอาการปัสสาวะขัดกระปริกระปรอย หากเป็นในระยะแรกร่างกายอาจขับก้อนนิ่วออกมาได้เองทางปัสสาวะ ซึ่งจะพบตะกอน
- ก้อนนิ่วมีขนาดใหญ่ขึ้นจะมีการอุดตันที่มากขึ้น มีการเสียดสีและทำให้เกิดการบาดเจ็บมีเลือดออก ส่งผลให้ปัสสาวะมีสีแดงขึ้นจากเลือดหรือบางกรณีมีสีเหมือนน้าล้างเนื้อเนื่องจากมีเนื้อบางส่วนหลุดลอกออกมาด้วย การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นทาให้มีอาการปวดท้อง ปวดหลังขึ้นได้ ในกรณีที่มีการติดเชื้อแทรกซ้อนจะมีอาการไข้ร่วมด้วย
- หากปล่อยให้เป็นนิ่วไปนานๆ โดยมิได้รับการรักษาจะทำให้ไตบาดเจ็บเรื้อรัง ส่งผลให้ไตมีรูปร่างและทางานผิดปกติมากขึ้นและนำไปสู่ภาวะไตวาย
-
การรักษา
-
-
-
- การรักษาโรคนิ่วด้วยยา ยาที่ใช้รักษาโรคนิ่วมีทั้งที่อยู่ในรูปสารสังเคราะห์ และในรูปสารในธรรมชาติ เช่น กรดไฟติก สารต้านอนุมูลอิสระ น้ามันปลา หญ้าหนวดแมวหรือหญ้าเทวดา และมะนาวผง เป็นต้น
ป้องกัน
- ควรดื่มน้ำปริมาณมาก ในแต่ละวันควรดื่มน้ำให้ได้มากกว่า 8 แก้วต่อวัน
- บริโภคอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบถ้วนและสัดส่วนเหมาะสม
-
-
-
-
-
- ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ควรออกกาลังกายแบบแอโรบิคเป็นเวลาอย่างน้อย 10-20 นาทีทุกวัน