Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอด (Birth Asphyxia), ุ - Coggle Diagram
ภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอด
(Birth Asphyxia)
ความหมาย
ภาวะที่ทารกมีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ
และมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์และกรดในเลือดมาก
รบกวนต่อระบบการไหลเวียนและสมองของทารกทำให้ทารกถึงแก่ชีวิตหรือพิการทางสมองได้
สาเหตุ
ุ
O2หรือสารอาหารผ่านรกมายังทารกไม่พอ
มารดาเสียเลือดในระหว่างการคลอด,
มดลูกกดทับ aorta และ venacava
มารดา BP ต่ำจากยาระงับความรู้สึกที่ฉีดเข้าทางไขสันหลัง
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนทางรก
ปอดของทารกขยายไม่เต็มที่ภายหลังคลอด
การไหลเวียนของเลือดไม่เปลี่ยนเป็ นแบบทารกหลังคลอดปกติ
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือของทารกขัดข้อง เช่น สายสะดือถูกกด
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะ Birth asphyxia
ปัจจัยขณะคลอด
สายสะดือย้อย
มารดาได้รับ sedative หรือยาแก้ปวด
การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
Meconium stain amniotic fluid
การติดเชื้อ
ท่าก้นหรือส่วนน้าผิดปกติ
จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
ปัจจัยขณะตั้งครรภ์
เลือดออกในระยะตั้งครรภ์
มารดาได้รับยารักษาในการรักษาโรคบางอย่าง เช่น magnesium,adrenergic blockingagents
โรคเบาหวาน
ติดยาเสพติดหรือสุรา
อายุมากกว่า 35 ปี หรือน้อยกว่า 16 ปี
มีประวัติการตายในระยะเดือนแรกของชีวิต (neonatal death) ในครรภ์ก่อนๆ
PIH /chronic hypertension
Oligohydramnios /Polyhydramnios
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
คลอดก่อนก้าหนดหรือถุงน้ำคร่ำแตกก่อนก้าหนด
ภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอด
ปรับตัวโดยการหายใจเร็วขึ้น
การให้ออกซิเจนแรกคลอดแก่ทารกในช่วงนี้จะทำให้ทารก กลับมาหายใจได้เอง
ถ้ายังขาดออกซิเจนต่อไปทารกจะหายใจช้าลงและจะเข้าสู่ภาวะหยุดหายใจ
จำเป็นต้องช่วยหายใจโดยใช้เครื่องช่วยหายใจ
ทารกเริ่มขาดออกซิเจนร่างกาย
ร่างกายทารกจะปรับตัวโดยเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลอืดจากอวยัวะที่มีความสำคัญลดลง
ลำไส้ ตับ ไต กล้ามเนื้อ ผิวหนัง
เพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่มีความสำคัญมากกว่า
หัวใจ สมอง ต่อมหมวกไต
การประเมินสภาพและการวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ระดับของน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 30 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
arterial blood gas จะพบว่าค่า PaCO2สูง PaO2 pH และ HCO3 ต่ำ
ระดับ calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
ค่าระดับ potassium ในเลือดสูง
อาการและอาการแสดง
reflexลดลง หัวใจเต้นช้า
โดยอาการขึ้นอยู่กับความรุนเเรงของภาวะขาดออกซิเจน
ทารกจะมีลักษณะเขียว แรกคลอดไม่หายใจ ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก
ประเมิน APGAR score พบว่ามีคะแนน < 8 คะแนน ที่นาทีที่1
5 – 7 (mild Asphyxia)
3 - 4 (moderate Asphyxia)
0 - 2 (severe Asphyxia)
เกณฑ์ที่ราชวิทยาลัยสูตินรีเเพทย์ เเบ่งความรุนเเรง 2 ระดับ
4 -7 (mild or moderate Asphyxia)
0 -3 (severe Asphyxia)
หลังคลอดในระยะต่อมา
ส่วนใหญ่จะแสดงออกทางระบบประสาทส่วนกลางระบบหัวใจ และระบบหายใจ
หายใจลำบาก หยุดหายใจ
ความดันเลือดต่ำ ซึม ชัก ม่านตาขยาย
มีผลต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นระบบทางเดินอาหาร ตับ ไต ไขกระดูก
การตรวจร่างกาย
ประเมิน APGAR score ได้คะะแนนต่ำ
่
ตรวจพบอาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
การซักประวัติ
การลดลงของออกซิเจนในมารดา
โรคหัวใจ โรคปอด ภาวะความผิดปกติของการหายใจ ภาวะพร่องออกซิเจนในมารดา
การลดลงของการไหลเวียนเลือดของมารดาหรือรก
PIH,ภาวะความดันโลหิตต่ำ, Tetanic contraction
การตั้งครรภ์ที่ทำใหเ้กิดการลดลงเรื้อรังของการเเลกเปลี่ยนออกซิเจนระหว่างทารกและรก
Postterm, IUGR
ประวัติการได้รับยาระงับความเจ็บปวดระหว่างคลอด
เช่น pethidine
การพร่องของการเเลกเปลี่ยนเลือดเเละออกซิเจนระหว่างทารกและรกทันที
เช่น รกลอกตัวก่อนกำหนด สายสะดือย้อย สายสะดือพันคอ
แนวทางการช่วยเหลือทารกตามระดับความรุนแรง
No asphyxia (APGAR score 8-10)
เช็ดตัวทารกให้แห้ง ห่อผ้าให้ความอบอุ่น หรือวางทารกใต้radiant warmer ที่่อุ่น
clear airway โดยดูดสิ่งคัดหลั่งในปากเเละจมูก
Mild asphyxia (APGAR score 5-7)
clear airway
กระตุ้นการหายใจด้วย ลูบหน้าอกหรือหลัง
▪เช็ดตัวทารกให้แห้ง
ออกซิเจนที่ผ่านความชื้น เเละอุ่น ผ่านmask 5 LPM
Moderate asphyxia (APGAR score 3-4)
ใช้ bag และ mask ให้ออกซิเจนร้อยละ 100 และความดันที่เพียงพอ
หลังช่วยเหลือ 30 วินาที HRไม่เพิ่มหรือช้ากว่า 60/min ควรใส่ท่อ endotracheal tube และนวดหัวใจ
clear airway
Severe asphyxia (APGAR score 0-2)
▪clear airway
ช่วยหายใจทันทีที่คลอด ใส่ endotracheal tube ช่วยหายใจด้วยbag ใช้ออกซิเจนร้อยละ 100 พร้อมกับนวดหัวใจ
หลังช่วย 1 นาที ถ้าไม่มี HRหรือหลังช่วย 2 นาที HR < 100 /min
ควรได้รับการใส่umbilical venous catheter เพื่อให้ยาช่วยฟื้นคืนชีพและสารน้ำ
อาจทำให้ทารกมีภาวะชักได้ โดยปรากฎภายใน 24 ชั่วโมงเเรกของชีวิต
อาจชักต่อเนื่องจนถึงหลังคลอดประมาณ 8-10วัน
ให้ยาระงับชัก เเละสังเกตกลับเป็นซ้ำ
การช่วยการหายใจ (Artificial Ventilation)
การใส่ท่อหลอดลมคอ
endotracheal tube (ET tube)
ข้อบ่งชี้
หลังทำ PPVด้วย bag และ mask อาการไม่ดีขึ้น
ทารกที่ต้องช่วยเหลือโดยทำ Chest compression
ทารกที่มีน้ำคร่ำและขี้เทาใน trachea และต้องดูดออก
อัตราการเต้นของหัวใจทารกต่ำกว่า 60 ครั้งต่อนาที
ช่วยฟ้ืนคืนชีพทารกที่มีภาวะ severe asphyxia
สงสยัว่ามีDiaphragmatic hernia
ทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500 กรัมและไม่มีการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที
วิธีการใส่ท่อ
จัดศีรษะอยู่ในลักษณะแบบเดียวกับการช่วยหายใจด้วย PPV
ควรเลือกขนาดของ ET tube ให้เหมาะสมกับตัวทารก
ผู้ใส่จับ laryngoscope ด้วยมือซ้าย และสอด ET tubeมือขวา
ช่วยหายใจด้วยความดันบวก (PPV)
ข้อบ่งชี้
ทารกที่มีAPGAR score เท่ากับหรือน้อยกว่า 4
เมื่อกระตุ้นการหายใจด้วย tactile stimuli ไม่ช่วยให้เกิดการหายใจเองได้
การหายใจไม่เพียงพอที่จะช่วยให้การเต้นของหัวใจคงอยู่ในอัตราที่มากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
วิธีการ
การบีบ bag ในการช่วยหายใจด้วย PPV
บีบอัตรา 40 - 60 /min ให้ทรวงอกขยับพอประมาณโดยใช้แรงให้น้อยที่สุด
เพื่อการหายใจเข้าเป็นครั้งแรกใช้ความดัน30-50 ซม.น ้า
ครั้งต่อๆไปใช้ความดัน 20 ซม.น ้า (ยกเว้นรายความยืดหยุ่นปอดไม่ดี หรือการสำลักขี้เทา 20-40 ซม.น้ำ)
ถ้าทางเดินหายใจอุดตันต้องดูดเสมหะทารก
เริ่ม resuscitation จาก room air ก่อนและค่อย ๆปรับให้O2 จนได้Targeted Preductal SpO2
ในขณะบีบ bag คนบีบควรประเมิน
ทรวงอกทั้งสองข้างของทารกขยับเท่ากันหรือไม่
ตรวจสอบว่าขอบของmask แนบสนิทกับใบหน้าของทารกหรือไม่
Mask
เลือกขนาดเหมาะสมกับทารก ครอบคลุมทั้งคาง ปากและจมูก
การจับ mask ควรกดให้แนบสนิทกับใบหน้าด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้มือซ้าย ขณะเดียวกันนิ้วกลางจับบริเวณปลายคางยกขึ้น
นิ้วนางจับที่บริเวณขากรรไกร จะทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
ทำให้ศีรษะแหงนไปทางด้านหลังเล็กน้อย ทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
ภายหลังทำ PPV 30 วินาทีแล้วต้องประเมินทารกโดยใช้เวลา6 วินาที
อาการบ่งชี้ว่าทารกดีขึ้น
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
ทารกมีสีผิวชมพูขึ้น ทารกหายใจได้เอง ความตึงตัวกล้ามเนื้อด
ถ้าการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ พิจารณาทำ Chest compression และใส่ท่อหลอดลมคอ
จัดท่าให้ทารก โดยใช้ผ้ารองรับหัวไหล่ให้ยกสูงขึ้นจากพื้นประมาณ1 นิ้ว
อย่าให้หน้าและคอแหงนมากเกินไป เพราะจะทำให้หลอดลมตีบและแคบลง
การนวดหัวใจ (External Cardiac massage)
ข้อบ่งชี้
อัตราการเต้นของหัวใจ น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
หลังจากการช่วยหายใจด้วย bagและ mask 30วินาที แล้ว HR ไม่เพิ่มขึ้น
ทารกที่คลอดออกมาเเล้วหัวใจไม่เต้นที่ไม่ได้คาดหมายมาก่อน
Severe asphyxia
วิธีการนวดหัวใจ
วิธีที่1
เพื่อให้รองให้เเข็งขึ้น (two fingers technique)
ใช้นิ้ว 2 นิ้ว คือ นิ้วชี้กับนิ้วกลางของมือหนึ่งกดลงบนกลางกระดูกอก อีกมือหนึ่งวางสอดใต้ตัวทารก
วิธีที่ 2
ใช้หัวแม่มือทั้ง 2 ข้างกดกระดูกอกส่วนนิ้วที่เหลืออีก 4 นิ้วสอดใต้ตัวทารกไว้ทั้ง 2 ข้าง
หัวแม่มือวางให้ชิดกันหรือซ้อนกันก็ได้(two thumb technique)
จะเมื่อยน้อยกว่าวิธีแรก
American HeartAssociation แนะน าให้ใช้วิธีนี้
หลักการ
กดลงที่ตำแหน่ง lower third ของ sternum ความลึกมากกว่า 1/3ของ chest wall ร่วมกับ ventilation (ETT) ด้วยออกซิเจน100 % ในอัตรา 3:1
กดหน้าอก 90 ครั้ง : PPV 30 ครั้ง ในเวลา 1 นาที
ควรได้รับการแก้ไขภาวะความเป็นกรดด้วยด่างและอาจจะต้องกระตุ้นกล้ามเนื้อช่วยหายใจด้วย epinephrineโดยให้โซเดียมไบคาร์บอเนตก่อน
ควรทำอย่างต่อเนื่องจนกว่าการช่วยหายใจเพียงอย่างเดียวสามารถที่จะคง HR > 100 /min
ถ้า HR ลดลงเรื่อยๆ < 60 ครั้งต่อนาทีทั้งที่ได้นวดหัวใจร่วมกับการช่วยหายใจนาน 45 – 60 วินาที
ทารกน่าจะมีภาวะ metabolic acidosis ในระดับรุนแรง
American Heart Association 2015 ไม่แนะนำให้ใช้โซเดียมไบคาร์บอเนต และ naloxone
การพยาบาล
การให้ยา epinephrine
ข้อบ่งชี้การให้
ไม่มี HR หรือ HR < 60 /min ทำ PPV ด้วยออกซิเจน100 %
ร่วมกับการทำ chest compression แล้วเป็นเวลา 30 วินาที
ขนาดการให้
ให้epinephrine (1:1,000)ผสมเป็น 1:10,000 โดยให้0.01-0.03 mg/kg (0.1-0.3 ml/kg) ทางumbilical venous catheter
หรือ0.05-0.1 mg/kg(0.5-1 ml/kg) ทาง ET tube ทุก 3-5 นาที ถ้า HR < 60/min ได้ผลดีออกฤทธฺิ์เร็ว
อาจพิจารณาให้
สารน้ำ (NSS, RLS, PRC 10 ml/kgทางหลอดเลือดทำ 5-10 นาที) ในรายblood loss หรือ hypovolemia
hypoglycemia โดย glucose < 25 mg%
พิจารณา ให้10 Dextrose in water 2 ml/kgเข้าทาง umbilical venous catheter
ระวังผลเสียอันเกิดจาก metabolic acidosis
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดาและบิดาวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะเจ็บป่วยของทารกและแผนการรักษาที่ทารกได้รับ
มีโอกาสหัวใจเต้นผิดปกติ ไตทำงานผิดปกติ และเนื้อเยื่อลำไส้ตามเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงส่วนปลายไม่เพียงพอ
เนื้อเยื่อร่างกายขาดออกซิเจนเนื่องจากทารกมีภาวะหายใจลำบาก
มีโอกาสเกิดการเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช้าเนื่องจากภาวะเจ็บป่วย
มีโอกาสชักเนื่องจากสมองถูกทำลายจากการขาดออกซิเจน
ุ