Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลทางสูติกรรม
การใช้ยาทางสูติกรรมในระยะคลอด
การใช้ยา oxytocin
ใช้เพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกในระยะคลอด
หลักในการใช้ยา ดังนี้
ต้องเจือจางยา oxytocin ในสารน้ำ isotonic solution เช่น 5% D/N/2, NSS, LRI เช่น oxytocin 10 units ในสารน้ า 1,000 มล.
ควรให้คู่กับสารน้ำอีก 1 ขวด (piggy back) เพื่อสามารถหยุดให้ยาได้ทันที
ควรเริ่มให้สารน้ำที่ไม่มี oxytocin ก่อน และให้สารน้ าที่มี oxytocin ในอัตราที่ช้าๆก่อน
ปรับอัตราการให้ยา oxytocin เพิ่มขึ้น ในอัตรา 1-2 milliunit/min ตามการตอบสนองของการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที – 1 ชั่วโมง
ควรปรับอัตราการให้ยา oxytocin ลดลง หรือหยุดการให้ยา เมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกนาน ถี่หรือ แรง มากเกินไป (hypertonic contraction)
ต้องติดตามประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และอัตราการเต้นของหัวใจทารกก่อนให้ยา Oxytocin หลังให้ยา และตลอดระยะเวลาที่ให้ยา
วัตถุประสงค์
เพื่อชักนำการคลอด (induction of labor) หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการหดรัดตัวของมดลูก (augmentation of labor)
การใช้ยา pethidine
ใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บครรภ์ใน
ระยะคลอด
หลักการพยาบาลหลังการให้ยา pethidine มีดังนี
ประเมินอาการคลื่นไส้ อาเจียน และการกดการหายใจ
เฝ้าระวังการกดหายใจในทารกซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ หลังฉีดยา pethidine 3-5 ชั่วโมง
ติดตามประเมินสัญญาณชีพหลังฉีดยา 15 นาที, 30 นาที -1 ชั่วโมง
ให้ในอัตรา 12.5-50 mg intravenous หรือ 50-100 mg intramuscular ทุก 2-4 ชั่วโมง โดยยาจะเริ่มออกฤทธิ์หลังฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ 5 นาที และอาจให้ยาร่วมกับ plasil (metoclopramide) 10 mg
เพื่อป้องกัน หรือบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน
การใช้ยา MgSo4
เป็นเกลือแร่ที่ใช้รักษาภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์เพื่อป้องกันอาการชัก (anticonvulsant) ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ severe-preeclampsia
ออกฤทธิ์
ลดการหลั่งสารacetylcholine ที่ปลายประสาทท าให้ยับยั้งการส่งกระแสประสาทไปยังกล้ามเนื้อได้ และออกฤทธิ์กดการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้หลอดเลือดขยายตัว (vasodilator)
รู้สึกร้อน มีเหงื่อออก ลดความถี่และความแรงในการหดรัดตัวของมดลูกด้วย
แนวทางในการให้ยา MgSo4 มีดังนี
loading dose: MgSo4 4-6 g ในสารน้ำ 100 มล. ให้ทางหลอดเลือดดำ 15-20 นาที หรือ ให้ 10% MgSo4 4 g โดยเจือจางจาก 50% MgSo4 4 g ( 1 amp = 1 g= 2 ml) 8 ml ผสมกับ sterilewater 32 ml)
หลังจากนั้นให้ 50% MgSo4 1-2 g/hr โดยผสมในสารน้ า isotonic solution เช่น 5%D/N/2, NSS,LRI หรือฉีด 50% MgSo4 10 g (20 ml) เข้าทางกล้ามเนื้อสะโพก (gluteus maximus) ข้างละ 5 g (10 ml) และ 5 g IM ทุก 6 ชม. จนครบ 24 ชม
หลักการพยาบาลก่อนและหลังให้ยา MgSo4 มีดังนี้
ติดตามประเมินสัญญาณชีพทุก 30 นาที- 1 ชม. หรือทุก 2-4 ชม.
ประเมินภาวะ hyperreflexia หรือ hyporeflexia จาก deep tendon reflex
ติดตามประเมินปริมาตรน้ าเข้า ออกจากร่างกาย โดยเฉพาะปัสสาวะต้องไม่น้อยกว่า 25-30 มล./ชม.
ควรให้ยา MgSo4 ในสารละลาย ร่วมกับการให้สารละลาย อีกในขวด (piggyback) เพื่อสามารถหยุดให้ยาได้ทันทีเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น
ติดตามระดับความเข้มข้นของ MgSo4 ในเลือดโดยระดับยาในขนาดของการรักษา
กรณีได้รับยา MgSo4 เกินขนาดต้องให้ยา 10% calcium gluconate เพื่อต้านการออกฤทธิ์ของ MgSo4
การใช้ยา bricanyl
Bricanyl (terbutaline) 0.5-1.0 mg/amp เป็นยาที่ใช้ในการยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
โดยให้ยา 0.25 mg Subcutaneous ทุก 4 ชม. หรือเจือจางในสารละลาย isotonic solution ให้ทางหลอดเลือดด าในอัตรา 2.5-10
microgram/min และปรับขนาดยาได้สูงสุด 17.5-30 microgram/min หรือ เริ่มให้ยาในขนาด 0.01-0.05 mg/min และปรับเพิ่มในอัตรา 0.01 mg/min ทุก 10-30 นาที จนกระทั่งไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก หรือสูงสุด
ไม่เกิน 0.08 mg/min
กรณีให้ยาจนกระทั่งไม่มีการหดรัดตัวของมดลูกแล้ว จะต้องให้ยาในขนาดเดิมต่อไปประมาณ 1 ชม. แล้วค่อยๆลดขนาดยาลง ทุก 20 นาที และให้ยาต่อไปอีก 12 ชม. หรือตามแผนการรักษา
หลักการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยา Bricanyl/terbutaline มีดังนี
ติดตามประมาณสัญญาณชีพทุก 1-4 ชม. ตามสภาพอาการ
เฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากการให้ยา เช่น อาการใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่ำ น้ำท่วมปอด กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การใช้ยา dexamethasone
Dexamethasone เป็นยาในกลุ่ม corticosteroids ใช้ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดเพื่อกระตุ้นการสร้างสาร surfactant ในถุงลมปอดของทารกช่วยป้องกันภาวะ respiratory distress syndrome ในทารกคลอดก่อนก าหนดได้ โดยให้ในขนาด 6 mg IM ทุก 12 ชม. จนครบ 4 ครั้ง
การใช้ยาในระยะตั้งครรภ์
วิตามินเอ
การขาดวิตามินเอในมารดาสัมพันธ์ กับการเพิ่มอัตราการคลอดก่อนกำหนดและการเจริญเติบโตช้าของทารกภายในครรภ์
ตลอดระยะเวลาที่ตั้งครรภ์ไม่จำเป็นต้องได้รับวิตามินเอเสริม กรณีพื้นที่ที่มีโรคขาดสารไอโอดีนระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน และอาหารของหญิง
ตั้งครรภ์มีวิตามินเอต่ำ สามารถให้วิตามินเอเสริมได้ตลอดระยะเวลาที่ตั ้งครรภ์แต่ต้อง
ไม่เกินวันละ 10,000 หน่วยสากล
โฟเลท
แนะนำให้โฟเลทวันละ 400 – 600 ไมโครกรัม เสริมก่อนการปฏิสนธิจนถึงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
แนะนำปริมาณโฟเลทที่ควรได้รับวันละ 600ไมโครกรัมในหญิงตั ้งครรภ์ทุกไตรมาส
ไอโอดีน
ควรเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์อย่างเพียงพอตลอดช่วงเวลาที่ตั้งครรภ์
เหล็ก
แนะนำให้เสริมธาตุเหล็กในหญิงตั ้งครรภ์ปริมาณ 60 มิลลิกรัมต่อวัน โดยควรเสริมในไตรมาสที่ 2 และ 3
NICE ไม่แนะนeให้เสริมธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ทุกรายเป็ นประจ า เพราะไม่ได้มีประโยชน์ต่อมารดาและทารก รวมถึงอาจเกิดผลข้างเคียงต่อมารดาได้