Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ภาวะมดลูกแตก (Uterine Rupture)
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
.
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่ำเสมอ
การคลอดไม่ก้าวหน้า ปากมดลูกไม่เปิดขยายต่อและส่วนน าของทารกไม่เคลื่อนต่ำลงมา
มองเห็นหน้าท้องเป็นสองลอนสูงขึ้นเกือบถึงระดับสะดือ (Bandl’s ring)
มีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงของมดลูก (tetanic contraction)
ทารกในครรภ์เกิด fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ าเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
-.เจ็บปวดบริเวณมดลูกส่วนล่างอย่างรุนแรงและมารดารู้สึกว่ามีการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
ถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันที
อาจพบว่ามีเลือดออกทางช่องคลอดจ านวนเล็กน้อย เพราะส่วนใหญ่เลือดจะออกไปอยู่ในช่องท้อง
ท้องโป่งตึงและปวดท้องอย่างรุนแรงจากเลือด น้ าคร่ า และบางส่วนของทารกระคายเยื่อบุช่องท้อง
.FHS เปลี่ยนแปลงโดยอาจช้าหรือเร็ว หรือหายไป
PV พบส่วนน าลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก
งดน้ำและอาหารทางปาก ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาอย่างเพียงพอ ติดตามและรายงานสูติแพทย์ทราบ
ประเมินสัญญาณชีพและเสียงหัวใจทารกทุก ๕ นาที
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนร้อยละ ๑๐๐
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมินอาการและอาการแสดงของการตกเลือดและอาการแสดงของภาวะช็อก
ดูแลให้ได้รับเลือดทดแทนตามแผนการรักษา
การกู้ชีพในหญิงตั้งครรภ
หลักการกู้ชีพในหญิงตั้งครรภ์
มีดังนี้
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงทับซ้าย ควรให้นอนในท่าตะแคงซ้ายเอียง 15°- 30°
ดมออกซิเจนความเข้มข้น 100%
ให้น้ำเกลือทางเส้นเลือด
มองหาสาเหตุที่แก้ไขได้
อายุครรภ์>20 สัปดาห์มักมีขนาดมดลูกใหญ่จนกระทั่งกด inferior vena cava และaorta อันทำให้ลดปริมาณเลือดไหลกลับสู่หัวใจและมีความดันเลือดตกในที่สุด
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitous Labor)
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จนถึงคลอดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ชั่วโมง หรือระยะที่ 2 ของการคลอดใช้เวลาน้อยกว่า 10 นาท
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างรุนแรงและถี่มากกว่า 5 ครั้ง ในเวลา10 นาที ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยายมากกว่าหรือเท่ากับ5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดมากกว่าหรือเท่ากับ 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็วในครรภ์ก่อน ความไวต่อการเร่งคลอด ลักษณะอาการเจ็บครรภ์ หรืออาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
การตรวจร่างกาย ตรวจภายใน ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก การฟังเสียงหัวใจทารก และติดตาม Electronic Fetal monitoring
ภาวะจิตสังคม
การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum Hemorrhage)
การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตรจากการ
คลอดทางช่องคลอด หรือการเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตรจากการผ่าตัดคลอดทางหน้า
ท้อง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการตกเลือดหลังคลอด
4 สาเหตุหลัก (4T)
Tone คือ สาเหตุเกี่ยวกับความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก
Trauma คือ สาเหตุเกี่ยวกับการฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissue คือ สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับรก เยื่อหุ้มรก หรือชิ้นส่วนของรกตกค้างภายในโพรงมดลูก
Thrombin คือ สาเหตุเกี่ยวกับการแข็งตัว ของเลือดผิดปกต
แนวทางการป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด
4 Rs ดังนี้
1.Recognition and Prevention คือ การ รับรู้และการป้องกัน
2.Readiness คือ การเตรียมความพร้อม
3.Response คือ การตอบสนอง
4.Reporting and Learning คือ การรายงาน และการเรียนรู
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism)
อาการและอาการแสดง
ระยะที่1 ภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว (hemodynamiccollapse) ผูค้ลอดจะเริ่มจากหายใจลำบากแน่นหน้าอก
ระยะที่2 ภาวะเลือดไม่แข็งตัว (coagulopathy) อาจพบมดลูกหดรัดตัวไม่ดีมีการตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
ประเมินสภาพผคู้ลอดหรือมารดาหลงัคลอดอย่างใกล้ชิด
ตรวจเช็ค และเตรียมอุปกรณ์ช่วยฟ้ืนคืนชีพใหพ้ ร้อมใชง้านทุกคร้ัง
ดูแลจดัท่าใหผ้คู้ลอดนอนราบ ตะแคงศีรษะ ให้ออกซิเจน 100%
สื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้องและเตรียมช่วยคลอดอย่างเร่งด่วน
ประคับประคองด้านจิตใจของสามีครอบครัวและญาติด้วยการให้ข้อมูล และดูแลอย่างใกล้ชิด
การบันทึกทางการพยาบาลที่ชัดเจน
ภาวะรกค้าง รกติด
การประเมินสภาพ
ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัว หรือมีเพียงเล็กน้อยหลังทารกคลอดนาน 20-30 นาที
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
ในกรณีที่มีเศษรกค้าง ตรวจพบดังนี้มีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนมากภายหลังรกคลอดตรวจรกพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรกขาดหายไป
มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการของการช็อกจากการเสียเลือดมาก
ผลกระทบของภาวะรกค้างต่อมารดา
ตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากรกไม่ลอกตัว และมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
เกิดการติดเชื้อหลังคลอดได้ เนื่องจากชิ้นส่วนของรกตกค้างภายในโพรงมดลูก หรือจากการล้วงรก
มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดมดลูกทิ้ง เนื่องจากรกฝังตัวลึกกว่าปกติ
กรณีถูกตัดมดลูก (hysterectomy) จะทำให้หมดโอกาสที่ตั้งครรภ์ต่อไป โดยเฉพาะมารดาที่อายุน้อยและยังต้องการมีบุตร
ผลกระทบของภาวะรกค้างต่อทารก
ทารกได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
การเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การพยาบาล
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะรกค้าง
ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุส่งเสริมที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกแล้วแต่ค้างอยู่ในช่องคลอด โดยตรวจดูอาการแสดง (signs) ของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ในโพรงมดลูก
รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาช่วยคลอดรกโดยการล้วงรก