Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา ๑
พระราชบัญญตัิน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. ๒๕๒๘ ”
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓
บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัติให้ใช้พระราชบัญญัติแทน
มาตรา ๔
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมายความว่า วิชาชีพเกี่ยวกับการพยาบาลและการผดุงครรภ์
“ การพยาบาล ”หมายความว่า การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับ การดูแลและการช่วยเหลือ เมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ
“ การผดุงครรภ์” หมายความว่า การกระทำ เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือ หญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน ความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
มาตรา ๕
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติและให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติรวมทั้งออกระเบียบและประกาศเพื่อปฏิบตัิการตามพระราชบัญญัติ กฏกระทรวง ระเบียบและประกาศนี้เมื่อได้ประกาศไปแล้วให้บังคับใช้ได้
หมวด ๑
สภาการพยาบาล
มาตรา ๖
ให้มีสภาการพยาบาล มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๗
มีวัตถุประสงค์
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ ให้ถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ส่งเสริมการศึกษา การบริการ
การวิจัย และความก้าวหน้าในวิชาชีพการพยาบาล
ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองคก์รอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับการพยาบาล
ให้คำปรึกษา หรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาล
เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
มาตรา ๘
อำนาจหน้าที่
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษาของสถาบันการศึกษา
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการศึกษาในระดับประกาศนียบตัร
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ของสถาบันการศึกษา
รับรองวิทยฐานะของสถาบันที่ทำการสอนและฝึกอบรมตาม ( ๔ ) และ ( ๕ )
รับรองปริญญา ประกาศนียบตัรเทียบเท่าปริญญา ประกาศนียบตัร หรือวฒุิบตัรในวิชาชีพการพยาบาล
ออกหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบตัรเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะทาง และหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการพยาบาล
ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
มาตรา ๙ สภาการพยาบาลมีรายได้
หมวด ๕ ทวิ (๑)
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๕ ทวิ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเขา้ไปในสถานที่ต่อไปนี้เพื่อตรวจสอบใบอนุญาตค้น หรือยึดเอกสารหลักฐาน หรือสิ่งของที่อาจใช้เป็นคดี
มาตรา ๔๕ ตรี ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่แก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๔๕ จัตวา ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๔๕ เบญจ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้รับผิดชอบหรือปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ตามมาตรา ๔๕ ทวิ อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๒
สมาชิก
มาตรา ๑๑ สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิกสองประเภท สมาชิกสามญและสมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา ๑๒ สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ
หมวด ๓
คณะกรรมการ
มาตรา ๑๔(๑) ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๕(๑) คณะกรรมการอาจแต่งต้ังสมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ปรึกษาได้
มาตรา(๒) ๑๖ ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตำแหน่งนายกสภาการพยาบาล อุปนายก สภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาการพยาบาลคนที่สอง ตำแหน่งละหนึ่งคน
มาตรา ๑๗ การเลือกต้งักรรมการตามมาตรา ๑๔ การแต่งตั้งกรรมการที่ปรึกษาตามมาตรา ๑๕และการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตำแหน่งต่างๆ ตามมาตรา ๑๖ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๘ คุณสมบัติกรรมการนอกจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษา
มาตรา ๑๙ ให้กรรมการซ่ึงได้รับแต่งต้งัและรับเลือกต้งัมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งต้งัหรือรับเลือกต้งัใหม่ได้แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกตั้งพ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๒๒ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๓ อำนาจและหน้าที่นายกสภาการพยาบาล อุปนายกสภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง อุปนายกสภาการพยาบาลคนที่สอง เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพัน ธ์และเหรัญญิก
หมวด ๔
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔ การประชุมคณะกรรมการตอ้งมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๒๕ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุมชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ หรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมการในเรื่องใด ๆ ก็ได้
มาตรา ๒๖ มติของที่ประชุมคณะกรรมการในเรื่องต่อไปนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อน จึงจะดำเนินการตามมติน้ันได้
หมวด ๕ การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือมิได้เป็นผู้ประกอบ วิชาชีพการผดุงครรภ์ หรือมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ กระทำการพยาบาล หรือการผดุงครรภ์ หรือแสดงดว้ยวิธีใด ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๒๘ (๓) การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกหนังสือ อนุมัติหรือวุฒิบัตรเกี่ยวกบัความรู้หรือความชำนาญเฉพาะทาง และหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๒๙ การขั้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แบ่งเป็นสามประเภท คือ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ผู้ประกอบวชิาชีพในแต่ละประเภทตามวรรคหนึ่งให้แบ่งเป็นสองช้นั คือ ชั้นหนึ่ง และชั้นสอง
มาตรา ๓๐ ผู้มีสิทธิขั้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามมาตรา ๒๙ ต้องมีความรู้
มาตรา ๓๑ ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องเป็นสมาชิกสามัญแห่งสภาการพยาบาลและ
มีคุณสมบัติอื่นตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภากาพยาบาล
มาตรา ๓๒ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ต้องรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ตามที่ได้กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๓ บุคคลผู้ซึ่งได้รับความเสียหายเพราะผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประพฤติผิดจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้น โดยทำเรื่องยื่นต่อสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๔ เมื่อสภาการพยาบาลได้รับเรื่องการกล่าวหา หรือการกล่าวโทษตามมาตรา ๓๓ หรือในกรณีที่คณะกรรมการมีมติว่า มีพฤติการณ์อันสมควรให้มีการพิจารณาเกี่ยวกบัจริยธรรมแห่งวิชาชีพ ของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
หมวด ๖
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๖ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือ
ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือท้ังจำ ท้ังปรับ
มาตรา ๔๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๑ วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๔๘ ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคา หรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆ ตามที่เรียกหรือแจ้งให้สั่งตาม มาตรา ๓๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ
มาตรา ๔๘ ทวิ(๑)ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามความในมาตรา ๔๕ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ
ข้อบังคับสภาการพยาบาล
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อบังคับการเจ็บป่วยฉุกเฉินและวิกฤติ
หมวด ๒
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ ๑
การพยาบาล
๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้กระทําการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสองจะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ซื่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุในแผนการรักษา
๘ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสองจะให้ยาผู้ป่วยได้เฉพาะที่แพทย์ซื่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุในแผนการรักษา
ส่วนที่ ๒
การทําหัตถการ
๘ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง กระทําการพยาบาลโดยการทําหัตถการตามขอบเขตที่กําหนด
ส่วนที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้น
หมวด ๓
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้กระทําการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นสอง จะทําการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่มีครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ ตลอดจนการพยาบาลมารดาและทารก
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจํากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ุ (ฉบับที่๒) พ.ศ. ๒๕๕๓
๑. ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจํากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่๒) พ.ศ. ๒๕๕๓
๒. ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
๓. ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทางตาที่สภาการพยาบาลให้การรับรองและได้ขึ้นทะเบียนเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติทางตากับสภาการพยาบาลให้กระทําการพยาบาลการคัดกรองผู้ป่วยการเจ็บป่วยทางตาฉุกเฉิน หรือการเจ็บป่วยวิกฤต และการฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็น
ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทางตาที่สภาการพยาบาลให้การรับรองและได้ขึ้นทะเบียนเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติทางตากับสภาการพยาบาลให้กระทําหัตถการ
กระทําการรักษาโรคเบื้องต้นเกี่ยวกับตา
ส่งต่อผู้ป่วยไปรับการบําบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อปรากฏ ตรวจพบ หรือเห็นว่าอาการไม่บรรเทา มีอาการรุนแรงเพิ่มขึ้น มีโรคหรือภาวะแทรกซ้อน หรือมีเหตุอันควรอื่นๆ
ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องใช้ยา ให้ใช้ยาได้ตามที่สภาการพยาบาลกําหนด
เขียนบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจ ากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒”
ข้อ ๒ ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ต้องมีวัตถุประสงค์
ข้อ ๔ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดต้องเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาล (Clinical Nursing Practice Guideline (CNPG)) หรือเป็นแนวปฏิบัติทางเวชกรรม (Clinical Practice Guideline (CPG)) และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลไม่เป็นผู้ตรวจวิเคราะห์หรือวินิจฉัย เว้นแต่กรณีการให้บริการแก่ผู้รับบริการ รายที่ตนเองเป็นผู้ดูแลในลักษณะการตรวจ ณ จุดดูแลผู้รับบริการ (Point of care testing) ได้แก่ การตรวจระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน
๕ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือด ต้องเป็นการเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากเส้นเลือดฝอยปลายนิ้วหรือจากหลอดเลือดดำส่วนปลาย
๖ การเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดดำส่วนกลาง ตามแผนการรักษาให้จัดเก็บจากสายสวนหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดดำส่วนกลาง ที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้เปิดไว้แล้ว
ข้อบังคับการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
หมวด ๑
บททั่วไป
หมวด ๒
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 1 การปฏิบัติต่อผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ
ส่วนที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพ
ส่วนที่ 3 การปฏิบัติต่อผู้ร่วมงาน
ส่วนที่ 4 การศึกษาวิจัยและการทดลองต่อมนุษย์
หมวด ๓
การโฆษณาการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์