Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีว…
บทที่ 8
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
8.1 การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ข่าวร้ายที่พบได้ในผู้ป่วยวิกฤต
การได้รับการเจาะคอ
การใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำ
ผลเลือดเป็นบวกหรือติดเชื้อ HIV
มะเร็งระยะลุกลามไม่สามารถรักษาได้
เกิดโรคแทรกซ้อนที่อาจทำให้เสียชีวิต
การสูญเสียญาติหรือคนเป็นที่รัก
ผู้แจ้งข่าวร้าย
ต้องได้รับการฝึกฝน
มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา
ผลการรักษาและการดำเนินโรค
รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะปฏิเสธ (Denial)
จะรู้สึกตกใจ
ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู
ไม่เชื่อผลการรักษา
ระยะโกรธ (Anger)
ก้าวร้าว และต่อต้าน
ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา
อารมณ์ รุนแรง
ระยะต่อรอง (Bargaining)
คนรอบข้างหรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธิ
ฉันรู้ว่ามันร้ายแรง คงรักษาไม่หาย แต่ฉันอยาก....
จะต่อรองกับตัวเอง
ระยะซึมเศร้า (Depression)
เบื่อหน่าย เก็บตัว
ไม่ค่อยพูดคุย ถามคำ ตอบคำ
ออกห่างจากสังคมรอบข้าง
5.ระยะยอมรับ (Acceptance)
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
บทบาทพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การด าเนินโรค แนวทางการรักษา
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ึ7. จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสม (ก้าวร้าว ด่าว่า เอะอะโวยวาย) เนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วย
รุนแรงได้
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้จากการเจ็บป่วยรุนแรง
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริงเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
เศร้าโศกทุกข์ใจเนื่องจากสูญเสียบุคคลที่มีความสำคัญต่อตน
8.2 การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต (End of life care in ICU)
การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professional culture
ทำงานอยู่ในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติจะคุ้นชินกับการรักษาผู้ป่วยเพื่มุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
การตายของผู้ป่วยอาจทำให้ทีมสุขภาพรู้สึกว่าเป็นความล้มเหลว
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
ผู้ป่วยวิกฤติมักขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพที่ทรุดลงอย่างเฉียบพลัน
ผู้ป่วยมีอาการทรุดลงจากเดิม หรือมีโอกาสเสียชีวิตสูง
ความไม่แน่นอนของอาการ
ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะดีขึ้นแล้วกลับไปทรุดลงได้หลายครั้ง
Multidisciplinary team
ผู้ป่วยวิกฤติมีทีมแพทย&ที่ดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า 1 สาขา
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
ทรัพยากรมีจำกัด
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
ในไอซียูส่วนใหญ่มักจะพลุกพล่าน วุ่นวาย
ผู้ป่วยที่มีอัตราการตายสูง
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
Attitude
การดูแลผู้ป่วยควรพิจารณาเป็นรายบุคคล ไม่ใช้ประสบการณ&หรือทัศนคติของตนเองมาตัดสินญาติหรือผู้ป่วย
Behavior
หาให้พบว่าการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนั้นกระทบผู้ป่วยและญาติอย่างไรบ้าง
Dialogue
มุ่งเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วย มิใช่ตัวโรค พยายามหาให้พบว่าสิ่งที่สำคัญของผู้ป่วยจริง ๆ คืออะไร
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น ๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
แบบผสมผสาน
แพทย&เวชบำบัดวิกฤตมีความรู้ความสามารถในการดูแลแบบ palliative care ให้กับผู้ป่วยทุกคน
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป้วยวิกฤต
การสื่อสาร
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
มีความเห็นใจครอบครัวที่ต้องประเชิญเหตุการณ์นี้
บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การใส่ใจประเมินอาการ
จัดการอาการไม่สุขสบายอย่างเต็มที่
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
หากมีเวลาเตรียมตัวก่อนเสียชีวิตหลายวัน
พิจารณาย้ายผู้ป่วยไปยังหอผู้ป่วยที่ญาติสามารถเข้าเยี่ยมได้ใกล้ชิด
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
ทีมสุขภาพอาจทำการแสดงความเสียใจต่อการสูญเสีย
ไม่ควรพูดคำบางคำ เช่น “ไม่เป็นไร” “ไม่ต้องร้องไห้”