Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความปลอดภัยในการทำงาน CCF ACTIVITY, นาย สมประสงค์ โคลนกระโทก B6004477 -…
ความปลอดภัยในการทำงาน CCF ACTIVITY
คำนิยาม
อุบัติการณ์
เหตกุารณ์ที่ไม่พึงประสงค์แล้วมี ผลให้เกิด Accident หรือ Near miss
เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ
เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด ไมก่อ่ให้เกิดการ บาดเจ็บ การเจ็บป่วย และไม่มีทรัพย์สินเสียหาย
อันตราย
แหล่งหรือสภาพการที่มีโอกาสทำใหเ้กิดอันตราย
อุบัติเหตุ
เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนโดยที่ไม่คาดคิด แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วสงผลให้มีการบาดเจ็บ
ความปลอดภัย
สภาพและปัจจัยที่มีหรืออาจมีผลต่อสุขภาพและความปลอดภัย
เหตุฉุกเฉิน
เหตุการณฺที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ คาดการณ์ล่วงหน้า เป็นเหตุการณที่มีอันตราย ต้องการตอบสนองอย่างทันท่วงที
ACCIDENT RATIO STUDY
อุบัติเหตุที่มีการบาดเจ็บเล็กน้อย
อุบัติเหตุที่มีการสูญเสียทรัพย์สิน
อุบัติเหตุที่มีการบาดเจ็บร้ายแรง
อุบัติเหตุที่ไม่มีการบาดเจ็บหรือสูญเสียทรัพย์สิน
อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
สาเหตุของการเกิดอุบติเหตุ
การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัย
แต่งกายไม่เหมาะสม ไม่ส่วมใส่ PPE ที่จัดให้
ไม่ใส่ใจในการทำงาน หรือ การห้ามเตือนต่างๆ
การหยอกล้อกันระหว่างทำงาน
การมีทีศนคติไม่ถูกต้อง เช่น โทษเคราะห์กรรม
การทำงานโดยที่ร่างกายและจิตใจไม่พร้อม
การทำงานไม่ถูกวิธี หรือไม่ถูกขั้นตอน (WI)
ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย
ใช้เครื่องมือชำรุด และ ไม่ถูกวิธี
ท่าทางการทำงานไม่เหมาะสม
ภัยธรรมชาติ
สภาวะ/สภาพที่ไม่ปลอดภัย
เครื่องจักรไม่มีเครื่องกำบัง
ความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย และสกปรกของพื้นที่
พื้นที่ขรุขระ เป็นหลุมเป็นบ่อ
การวางผังโรงงานที่ไม่ถูกต้อง
เครื่องจักรกลเครื่องมือหรืออุปกรณชำรุด
สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ปลอดภัย
อย่าใช้อุปกรณ์ที่ชำรุด
เครื่องมือประเภทที่มีแรงดันสูง
ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน
เมื่อทำงานบนที่สูง
เครื่องมือกลไฟฟ้า
ตรวจดูความเรียบร้อยของเตรื่องมือและอุปกรณ์ก่อน
ผลกระทบจาการเกิดอุบัติเหตุณ์
ผลกระทบทางตรง
ทรัพย์สินเสียหาย
คนบาดเจ็บ พิการ ตาย
ทุพลภาพถาวร
ตาย ครอบครัวเดือดร้อนเพราะขาดรายได้
ผลกระทบทางอ้อม
ขาดแคลนหรือสญูเสียบุคคลากรที่มีคุณภาพ
ปริมาณและคุณภาพงานลดลงเพราะพนักงานใหม่ ขาดความชำนาญ
ค่าความเสียหายของอาคาร, ทรัพย์สินที่สญูเสียไป
ค่าความเสียหายอันเกิดจากการชะงักทางธรุกิจ
ความเสียหายอันเกิดจากเสียภาพพจน์ของบริษัท
ต้องปิดกิจการ
จุด / บริเวณที่มีโอกาสทำให้เกิดอุบัติเหตุ
บริเวณที่มีการเคลื่อนที่ตามขวางของสายพาน
บริเวณที่มีการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา
การหมุนที่เกิดจากจุดหนีบ
ชนิดของการกระทำที่อันตราย
การเจาะและการทำให้โค้ง
การตัด
การเฉือน
องค์ประกอบที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน
ตัวเหตุของโรค
ต้นเหตุทางกายภาพ
ต้นเหตุทางชีวภาพ
ต้นเหตุทางเคมี
สภาพแวดล้อมในการทำงาน
การระบายอากาศ
ความแออัดในพื้นที่ทำงาน
ความสะอาดของที่ทำงาน
คนทำงาน
กรรมพันธ์ เชื้อชาติ เพศ
อายุ
พื้นฐานสุขภาพ
ภาวะโภชนาการ
พื้นฐานการศึกษา
พฤติกรรมในการทำงาน
สัญลักษณ์และสีแสดงของเครื่องหมายต่างๆ
สีเหลือง เครื่องหมายเตือน
สีฟ้า เครื่องหมายบังคับ
สีแดง เครื่องหมายห้ามและป้องกันอัคคีภัย
สีเขียว เครื่องหมายแสดงสภาวะความปลอดภัย
หลักปฏิบัติที่ปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ห้ามสูบบุหรี่ขณะทำงาน
มีสุขวิทยาส่วนบุคคลที่ดี
สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลทุกครั้ง และตลอดเวลาที่ทำงาน
ห้ามผสมสารเคมีที่ไม่ได้ใช้อยู่เป็นประจำหรือไม่อยู่ในขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ทำความเข้าใจกับ MSDS
ถ้ารู้สึกมึนงง หายใจไม่สะดวกให้ออกจากที่นั้นทันที
ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย
ต้องรู้ว่ากำลังทำงานกับสารเคมีอะไร มีอันตรายอะไรมีข้อปฏิบัติ/ข้อห้ามอะไร
มีสิ่งใดผิดปกติให้รายงานหัวหน้างานให้ทราบ
การปฏิบัติตนเมื่อสัมผัสสารเคมีอันตราย
ออกจากสถานที่สัมผัสสารเคมี ไปยังที่ ๆ มีอากาศบริสุทธิ์
ถอดเสื้อที่เปื้อนสารเคมอีอก และแยกใส่ถุงหรือภาชนะต่างหาก
หากโดนสารเคมีใหล้างดว้ยน้ำเปล่ามากๆ อย่างน้อย 15 นาที
ไปพบแพทย์
อปุกรณคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบคุคล (PPE)
อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ
อุปกรณ์ป้องกันหู
อุปกรณ์ป้องกันนิ้วและมือ
อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขา
อุปกรณ์ป้องกันลำตัว
อุปกรณ์ป้องกันระบบการหายใจและเครื่องช่วยหายใจ
กิจกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
กิจกรรม 5ส
สะอาด
สุขลักษณะ
สะดวก
สร้างนิสัย
สะสาง
กิจกรรมการหยั่งรู้อันตราย (KYT)
YOCHI
TRAINING
KAIKEN
การค้นหาอันตราย แบ่งเป็น 6 ประเภท
อันตรายจากเครื่องจักร
อันตรายจากวัตถุหนักตกใส่
อันตรายจากยานพาหนะ
อันตรายจากการตกจากที่สูง
อันตรายจากกระแสไฟฟ้า
อื่นๆ
นาย สมประสงค์ โคลนกระโทก B6004477