Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและดูแลสุขภาพตาม ความเชื่อศาสนาพุทธ, 1_OlNiqi1JU2r…
หลักการดำเนินชีวิตและดูแลสุขภาพตาม
ความเชื่อศาสนาพุทธ
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพ
มุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์
สอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์
เชื่อในกฎแห่งกรรม
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
ศีล 5
งดเว้นการฆ่าสัตว์
งดเว้นจากการลักขโมย
งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต
เกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
การปฏิบัติเพื่อดับทุกข์
หลักปฏิบัติศีลธรรม
โอวาทปาติโมกข์
การไม่ทำความชั่วทั้งปวง
การบำเพ็ญแต่ความด
การทำจิตให้สะอาดบริสุทธ์
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์
ผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
อริยสัจ
วิธีการดับทุกข์
เหตุและผลของการเกิดทุกข์
นิพพาน
ความดับสนิทของตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง
ความจริงสูงสุด
อริยสัจ (The Four Noble Truths)
ปฏิจจสมุปบาท (The Law of Cause and Effect)
กฏไตรลักษณ์ (The Three Characteristics of Existence)
นิพพาน (Nirvana)
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที
การรู้จักบุญคุณและตอบแทน
เป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์
กฏไตรลักษณ์
ทุกขัง
ความทุกข์
อนัตตา
ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อนิจจัง
ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
ด้านจิตใจ
พูดให้กำลังใจ
พูดให้เข้าใจแจ่ใแจ้ง
ด้านร่างกาย
ยาคู
ปรุงด้วย งา ข้าวสาร และถั่วเขียว
รักษาโรคลม
น้ำอ้อยต้ม
รักษาโรคลม
ยาปรุง ขับของเสีย
ด้านจิตวิญญาณ
รักษาจิตใจให้แข็งแรง
เผชิญหน้ากับความเจ็บป่วย
ด้านสังคม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีการดูแลสุขภาพ
นำศีล 5 มาดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3 ไม่ประพฤติผิดในกาม
ก่อโรค (เอดส์)
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์
ศีลข้อ 4 กล่าวเท็จ
ทำให้ไม่ทราบความจริง
ส่งผลร้ายต่อตัวเองและผู้อื่น
ศีลข้อ 2 ไม่ลักขโมย
เกิดจากความอยาก
ส่่งผลต่อความเครียด
ศีลข้อ 5 งดเว้นจากการดื่มสุรา
ก่อให้เกิดอันตราย
ศีลข้อ 1 งดเว้นการฆ่าสัตว์
บริโภคพืชผัก
ยาปฏิชีวินะในสัตว์
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
อารมณ์ก่อนจิตดีบ
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูม
ภาพที่มาปรากฏให้เห็น ในเวลาใกล้ตาย
กรรมนิมิต
ภาพที่เกิดจากการกระทำ
กรรมดีและกรรมชั่วที่ได้กระทำไว้
กรรมอารมณ์
อารมณ์ที่คิดดี
ตายแบบสบาย
อารมณ์ที่คิดไม่ดี
ตายแบบไม่ดี มีความโกรธ เกลียด
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอน
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกต
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
สภาพจิตก่อนตาย
จิตวิญญาณ (Spiritual)
จิตที่เข้าถึงสิ่งสูงสุด คือนิพพาน
แสวงหาจุดมุ่งหมาย
ความรัก ความไว้วางใจ
ความหวัง
การให้อภัยแก่ตนเองและผู้อื่น
ลดความเห็นแก่ตัวเห็นแก่ผู้อื่น
หลัก 7 ประการในการดูแล
ช่วยให้เขายอมรับความตาย
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
กล่าวคำอำลา
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ
การให้ความรัก ความเข้าใจ
หลักการและแนวคิด
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
ต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน
การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการ
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
บรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
วัตถุประสงค์การดูแล
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
ลดความทุกข์ทรมาน
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
คนใกล้ตายความอ่อนเพลีย
ไม่จำเป็นต้องให้การรักษาใด ๆ
ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
ขาดน้ำ
ปากแห้ง
ใช้สำลีชุบน้ำสะอาดแตะที่ริมฝีปาก
ทาวาสลินหรือสีผึ้ง
ดวงตาแห้ง
หยอดตาด้วยน้ำตาเทียม
ไม่ให้ดื่มน้ำ
ด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
การถูกทอดทิ้ง
ให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึก
ให้โอกาสได้พูดคุย
วิธีปฏิบัติต่อความตาย
ขั้นที่ 2
เป็นอริยสาวก
ผู้มีการศึกษา
ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
เตือนใจ
ให้ชีวิตมีประโยชน์มีคุณค่า
ขั้นที่ 3
รู้เท่าทันความตาย
ไม่ถูกบีบคั้น
มีใจปลอดโปร่ง โล่ง สบาย
ขั้นที่ 1
มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
ยังไม่มีการศึกษา
ระลึกถึงความตายด้วย
ความหวาดหวั่นพรั่นกลัว