Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
ระบบประสาทอัติโนมัติ
การแบ่งประเภทของ Adrenergic receptors
α1
พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทางเดินปัสสาวะ และมดลูก
ทำให้เกิดตอบสนองแบบหดตัว
ยกเว้นระบบทางเดินอาหารทำให้ยับยั้งการเคลื่อนไหว
α2
พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติกที่เนื้อเยื่อต่างๆ
สมองจากการกระตุ้นจะยับยั้งการหลั่งของ norepinephrine (NE)
β1
พบที่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัว
อัตราการเต้นของหัวใจ
β2
พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด หลอดลม ทางเดินปัสสาวะ และมดลูก
ถูกกระตุ้นจะเกิดการคลายตัว
กล้ามเนื้อลายก่อให้เกิดการสลายไกลโคเจน
β3
พบที่เซลล์ไขมัน
มีการกระตุ้นทำให้เกิดเกิดสลายไขมัน
Cholinergic agonist สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์โดยตรง
ยาโคลิเนอร์จิก(Cholinergic Drugs)
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ออกฤทธฺิ์กระตุ้น Cholinergic receptor โดยตรง
ทางอ้อมโดยยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Acetylcholinesterase
Cholinergic agonist
ระบบไหลเวียนเลือด
ลดความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย
หลอดเลือดขยายตัว
ลดความดันโลหิต
ลดการเต้นของหัวใจ
ระบบหายใจ
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัว
ต่อมในหลอดลม หลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น
ถ้าการกระตุ้นมีมากจะเกิดอาการตล้ายหืด(asthma)
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะหดตัว
เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะ
เพิ่มการบีบตัวตัวของท่อปัสสาวะ
เพิ่มการคลายตัวของกล้ามเนื้อหูรูด
ระบบทางเดินอาหาร
เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่ง
น้ำลาย
กรดในกระเพาะอาหาร
ต่อมในตับอ่อนและลำไส้เล็ก
กระตุ้นกล้ามเนื้อทางเดินอาหารบีบตัว
กล้าม sphincter ต่างๆ คลายตัวให้อาหารเคลื่อนผ่านไปได้
ฤทธิ์ต่อตา ทำใฟ้ม่านตารี่
ระบบประสาทส่วนกลาง
มีฤทธิ์กระตุ้นสมองส่วน Cortex
มีบทบาทเกี่ยวกับการรับรู้
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ
ใช้รักษาอาการปัสสาวะไม่ออกจากหัตถการผ่าตัดจากการคลอดบุตร
ยากระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะให้มีการบีบตัวเพื่อขับปัสสาวะออกมาได้
ใช้รักษาต้อหิน
รักษาต้อหินเฉียบพลัน
ยามีฤทธิ์กระตุ้นให้ม่านตาหรี่ ลดความดันในลูกตา
ใช้รักษาอาการท้องอืดไม่ถ่าย
รักษาโรคกรดไหลย้อน
ยากระตุ้นการบีบตัว เพิ่มแรงบีบ การขับเคลื่อนอาหารในทางเดินอาหาร
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
เกิดจากการกระตุ้น muscarinic receptor
ยา Bethanechol อาการมึนเวียนศรีษะ (dizziness)
ยา Pilocarpine แบบหยอด จะมีอาการตามัว ระคายเคือง คันตา
ข้อห้ามใช้
ผู้เป็นโรคหืด(Asthma) หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD) ทำให้หลอดลมหดตัว
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้(Peptic ulcer) ยาจะไปกระตุ้นการหลั่งกรด และน้ำย่อยมากขึ้น
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน นิ่วทางเดินปัสสาวะ ยาจะกระตุ้นการบีบตัว
Anticholinestesterase agent สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์ทางอ้อม
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Acetylcholinesterase
Achไปกระตุ้น cholinergic receptors
สารที่จับกับเอนไซม์อย่างถาวร คือ irreversible
ใช้เป็นยาฆ่าแมลง เช่น parathion ซึ่งเป็นพิษต่อร่างกาย
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อ muscarinic receptor
ผลต่อระบบไหลเวียนอาจทำให้หัวใจเต้นช้า
ลด cardiac output ความดันโลหิตลดลง
ผลต่อ nicotinic receptor
ผลต่อกล้ามเนื้อลาย
การบีบตัวของใยกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อมีอาการสั่นพริ้ว
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้ในการรักษาอาการลำไส้ กระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว
ใช้ในการรักษาโรค Myasthenia gravis อาการแขนขาอ่อนแรง
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่ม competitive antagonist ทำให้ผู้ป่วยกลับหายใจได้ปกติเร็วขึ้นหลังการผ่าตัด
รักษา Alzheimer's disease ยาช่วยปรับปรุงด้านความจำ ความเข้าใจ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
รูม่านตาเล็ก หายใจลำบาก หัวใจเต้นช้า
มีสารคัดหลั่งทางเดินหายใจมาก
หลอดลมหดเกร็ง ปวดท้อง
สาร oranophosphate เข้าสมองได้ดี ทำให้ชัก หยุดหายใจ หมดความรู้สึก
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก(Adrenergic drugs
ยากลุ่ม Catecholamines
Epinephrines (Adrenaline)
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นสาร agonist ออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้งαและβ
receptor ถูกทำลายอย่างรวดเร็วโดย MAO และ COMT
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนเลือด มีฤทธิ์แรงในการบีบหลอดเลือดและกระตุ้นหัวใจ
ระบบทางเดินอาหาร มีผลทำให้กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหารคลายตัว
ระบบหายใจ ทำให้กล้ามเนื้อทางเดินหายใจคลายตัว
ผลต่อเมตาบอลิซึม ทำให้กลูโคส lactose ในเลือดสูง
ยาเข้าสู่สมองได้น้อยจึงไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
การนำไปใช้ในทางคลินิค
ภาวะหัวใจหยุดเต้น เพิ่มอัตราชีพจรทำให้กล้ามเนื้อหัวใจต้องการออกซิเจนมากขึ้น
ภาวะแอนนาฟิแล็กซิส ทำให้หลอดลมขยาย ลดการบวมของกล่องเสียง
ใช้เพื่อห้ามเลือด ประคบเฉพาะที่บริเวณเยื่อเมือก
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่ ช่วยให้ออกฤทธิ์นานขึ้น
Norepinephrine
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับ Epinephrine โดยกระตุ้นที่α1และβ1 receptor
ทำให้เพิ่มความต้านทานรวมของหลอดเลือดส่วนปลายได้มาก ทำให้หลอดเลือดหดตัว เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษาความดันโลหิตต่ำรุนแรงที่ไม่ตอบสนองต่อตัวยาอื่น
ยาออกฤทธิ์ที่หลอดเลือดเป็นหลัก โดยในเฉพาะช่วงแรกของภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต
Dopamine
ยาต่างขนาดกัน
DA ในขนาดต่ำกระตุ้น D1-receptors
ทำให้เกิด vasodilation ของหลอดเลือดในไต
เพิ่มการขับโซเดียมทางปัสสาวะจึงมีประโยชน์ในการรักษาภาวะช็อกที่เกิดจาก Cardiac output ลดลงร่วมกับการทำงานของไตไม่ดี
DA ขนาดปานกลาง กระตุ้น β1 receptor
เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
เพิ่มอัตราการเต้นหัวใจเพียงเล็กน้อย
มีประโยชน์ในภาวะหัวใจล้มเหลวและกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
DA ในขนาดสูงกระตุ้น α1receptor
ทำให้เกิดหลอดเลือดหดตัว
เพิ่มความดันโลหิต
ประโยชน์ทางคลินิก
รักษษภาวะช็อกจากหัวใจจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
Dobutamine
เป็นสารสังเคราะห์ มีโครงสร้างคล้าย DA มีฤทธิ์ α1 β1 agonist
เป็นยาที่กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ เพิ่ม Cardiac output มีผลเล็กน้อยต่ออัตราการเต้นของหัวใจ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบประสาท วิตกกังวล ปวดศรีษะ อาการสั่น
ระบบไหลเวียน หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปอดบวมน้ำ
Tissue necrosis ถ้าฉีดเข้าหลอดเลือดดำรั่วไปเนื้อเยื่อรอบๆ จะเกิดVasoconstriction จนเนื้อตาย
Aleha-adrenergic agonist
Alpha-1 agonist
Phenylephrine
เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะα1receptor
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหดตัว
เพิ่มแรงต้านในหลอดเลือดและเพิ่มความดันโลหิต
ยาพ่นรูปแบบรับประทานหรือพ่นแบบพ่นจมูก
ทำให้หลอดเลือดในเยื่อเมือกในโพรงจมูกหดตัว
ใช้บรรเทาอาการคัดจมูก
Midodrine
เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะα1receptor
ทำให้หลอดเลือดหดตัว ส่งผลทำให้ความดันโลหิตเพิ่ม
ใช้ในผู้ป่วย postural hypotension หรืออาการหน้ามืด
Alpha-2 agonist
ออกฤทธิ์α2-receptor ที่สมองและหลอดเลือด
มีชนิดรับประทานและแผ่นแปะผิวหนัง
ทำให้ลดการหดตัวของหลอดเลือด
ลดความต้านทานของหลอดเลือด ทำให้ความดันโลหิตลดลง
ประโยชน์ทางคลินิก
ใช้รักษาความดันโลลหิตสูง
รักษาอาการขาดเหล้าหรืออาการถอนพิษ
รักษาอาการร้อนวูบวาบในสตรีวียหมดประจำเดือน
ผลข้างเคียงที่พบบ่อย
ทำให้ง่วงซึมเศร้า
ปากแห้ง ท้องผูก เบื่ออาหาร
ถ้าหยุดยาเร็ว อาจจะทำให้เกิดความดันโลหิตสูงเฉียบพลัน
Beta-adrenergic agonist
β2 adrenergic agonist
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น SABAs
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมคลายตัว
ใช้รักษาอาการหลอดลมหดเกร็งเฉียบพลัน เพื่อขยายหลอดลม
เมื่อใช้แบบยาพ่นใช้บบรเทาอาการจับหืดเฉียบพลัน หรือ COPD
ชนิดรับประทาน ยับยั้งมดลูกบีบตัวใช้ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว LABAs
เป็นยาที่ระยะเวลาการออกฤทธิ์ยาวนานกว่า12ชั่วโมง
เมื่อใช้รูปแบบยาพ่น ช่วยบรรเทาอาการหืด Salmeterol
รักษาทั้งระยะเฉียบพลันและระยะยาว ใช้ในโรคหืด และCOPD
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ใจสั่น
อาการกระวนกระวาย
วิตกกังวล
หัวใจเต้นเร็ว
β3 adrenergic agonist
เป็นยาออกฤทธิ์จำเพาะβ3-receptor
มีผลทำให้กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะคลายตัว
ใช้ในการรักษาอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
Ephedrine,Pseudoephedrine
Ephedrine ไม่ใช่ยาทางคลินิก
Pseudoephedrine เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทมีใช้อย่างจำกัดในโรงพยาบาล
ยาทั้ง2 ออกฤทธิ์ทางอ้อมโดยการเพิ่ม catecholamine
Pseudoephedrine ใช้เป็นยาลดน้ำมูกและคักจมูก
อาการค้างเคียง
ความดันโลหิตสูง
นอนไม่หลับ
หัวใจเต้นเร็ว
Amphetamine
ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความแรงสูง
ออกฤทธิ์โดยทางตรงและทางอ้อม
ยามีผลเพิ่มความดันโลหิต
มีผลทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ประโยชน์ทางคลินิกของยาในกลุ่ม Sympathomimetics
ภาวะหัวใจหยุดเต้น
ภาวะช็อก
Anaphylaxis ขยายหลอดลม
ยาหลักรักษาหอบหืด
ช่วยลดความดันในลูกตา
ช่วยลดความดันโลหิต
ลดการคั่งการบวมของเนื้อเยื่อในจมูก
มีผลคลายกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
สารสื่อประสาท (neurotransmitter)และตัวรับ(Receptor)ในระบบประสาทอัตโนมัติ
สารสื่อประสาทในระบบประสาทซิมพาเทติก
เรียกว่า Adrenergic agents
Noradrenaline (NE)
จับกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Adenergic receptor
Alpha α
Beta β
สารสื่อประสาทในระบบประสาทพาราซิมพาราซิมพาเทติก
เรียกว่า Cholinergic agents
Acetylcholine (ACh)
จับกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Cholinergic receptor
Muscarinic (M)
Nicotinic receptors (N)
สารสื่อระบบประสาทในระบบโซมาติก
จะมีเส้นประสาทที่ไปยังกล้ามเนื้อลาย
หลั่ง Ach ออกฤทธิ์ ที่ Nicotinic receptors กล้ามเนื้อลาย
ยาต้านมัสคารินิค(Antimuscarinic Drugs)
กลไกการออกฤทธิ์
Atropine เป็น muscarinic antagonists ออกฤทธิ์แย่งกับ Ach
การจับ Muscarinic receptor แบบแข่งขัน ทำให้ยามีผลลด parasympathetic tone
ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำลาย และต่อมสารคัดหลั่ง ที่ตอบสนองต่อฤทธิ์ยาได้ไว
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบตา
ทำให้ม่านตาขยาย (mydriasis)
ไม่สามารถควบคุมเลนส์ให้มองภาพได้ชัด (loss of accommodation)
ความดันในลูกตาสูง
ระบบทางเดินอาหาร
ลดการบีบบตัวของหลอดอาหารไปจนถึงลำไส้ใหญ่
ลดความแรงและลดการขับเคลื่อนของกระเพาะอาหารและลำไส้
ระบบทางเดินหายใจ
มีีฤทธิ์ขยายหลอดลม(bronchodilation
ยับยั้งการหลั่งของสารคัดหลั่ง ที่จมูก ปาก คอและหลอดลม
สามารถลดหดเกร็งของหลอดลม
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ลดความตึงตัวและความแรงในการบีบตัวของท่อปัสสาวะ
ทำให้ปัสสาวะลำบากโดยเฉพาะผู้สูงอายุ
ต่อมเหงื่อ
atropine ทำให้ร่างกายขับเหงื่อได้น้อยลง
อุณหภูมิของร่างกายจึงสูงเกิดไข้
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว(tacycardia)
มีฤทธิ์โดยตรงทำให้หลอดเลือดขยายตัว
หลอดเลือดใต้ผิวหนัง ทำให้บริเวณผิวหนังร้อนหรือแดง
การนำไปใช้ทางคลินิค
Antisecretory รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ใช้เป็น Antispasmodics ยาลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบในช่องท้อง
ใช้รักษาภาวะกระเพาะปัสสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป overactive bladder
ใช้ทางจักษุแพทย์ ทำให้รูม่านตาขยาย(mydriasis)
ใช้เป็นยาขยายหลอดลมบรรเทาอาการไซนัสหรือแพ้ละอองเกสร
ใช้เป็นยาเตรียมผู็ป่วยก่อนผ่าตัด ยับยั้งการหลั่งกรดน้ำย่อย
ใช้เป็นยารักษาโรคพาร์กินสัน อาการเกร็งกระตุกกล้ามเนื้อ
รักษาภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต Atopine ทำให้หัวใจเต้นช้าลงเล็กน้อย
ยาป้องกันและรักษาอาการเมารถ เมาคลื่น ช่วยลดอาการคลื่นไส้อาเจียน และวิงเวียน
ใชเป็นยาต้านพิษ
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system)
ทำงานเพื่อให้สามารถ ต่อสู้หรือถอยหนี (Fight or Fight)
เพิ่ม cardiac output หลอดลมขยาย การทำงานของระบบทางเดินอาหารลดลง
เพิ่ม cardiac output หลอดลมขยาย การทำงานของระบบทางเดินอาหารลดลง
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(Parasympathetic nervous system
เปรียบเสมือนการชะลอหรือห้ามระบบ เพื่อให้พักผ่อนหรือย่อยอาหาร (Rest or Digest)
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
หลอดลมตีบแคบลง
กระเพาะอาหารและกระเพาะปัสสาวะบีบตัว
เพิ่มการหลังกรดและน้ำย่อย
การแบ่งประเภทของCholinergic receptor
Nicotinic receptor พบที่ปมประสาท
Muscarinic receptor
M1
พบที่สมอง Peripheral neuron และ Gastric parietal
เมื่อมีการมีกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบ Excitation
M2
พบที่หัวใจและบางส่วน Peripheral neuron
เกิดการกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบยับยี้ง
หัวใจเต้นช้า
ยับยั้งการหลั่ง Ach ออกจากปลายประสาทซิมพาเทติก
M3
พบได้ต่อมมีท่อต่างๆ กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ
กระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบ Excitation
มีการหลั่งของต่อมมีท่อมากขึ้นทำให้กล้ามเนื้อเรียบหดตัว
M4
พบที่ระบบประสาท
การกระตุ้นทำให้เสริมการหลั่งของ Dopamine
M5
พบที่Dopamine neuron
การกระตุ้นทำให้เสริมการหลั่งของ Dopamine
ผลโดยตรงของการกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติต่อเนื้อเยื่อของบางอวัยวะ
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเดตอร์ Adrenoceptor blocking drugs
α-adrenergic antagonists
ยาที่มีใช้ในปัจจุบันคือ selective
ออกฤทธิ์จำเพาะต่อα1-recepterที่อยู่ภายในเซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบ ผนังหลอดเลือด หัวใจ
ทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบลดความต้านทานของหลอดเลือดแดง
ผนังหลอดเลือดขยายทำให้ลดความดันโลหิตได้ดีและรวดเร็ว
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบที่ต่อมลูกหมากและท่อปัสสาวะคลายตัว
อาจจะใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคต่อมลูกหมากโตร่วมด้วย
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ความดันโลหิตต่ำในขณะเปลี่ยนอิริยาบถ
β-adrenergic antagonists
Non-selective β-blocker
ใช้รักษาความดันโลหิตสูง ใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะหรือยาขยายหลอดเลือด
ลดอาการใจสั่นและมือสั่นในผู้ป่วยที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากกวาปกติ
ลดอาการตื่นเต้นง่ายทำให้เกิดภาวะสงบ
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Propranolol
ยาต้นแบบของβ-blocker
ยับยั้งทั้งβ1และβ2 receptor ถูกดูดซึมได้ดีมาก
Selective β-blocker
Metoprolol , Atenolol
ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง
รักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยาสำคัญใช้เพื่อลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอัตราการเต้นของหัวใจช้า
ใช้ป้องกันไมเกรน
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ทำให้หัวใจเต้นช้า
ระบบหายใจ อาจจะทำให้หลอดลมตีบแคบ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระบบประสาท พบอาการปวดศรีษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ
อาจจะเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ