Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต…
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
8.2 การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต (End of life care in ICU)
palliative care
ไม่ใช่การเร่งการตาย ไม่ยื้อความตาย ไม่ใช่การุณฆาต แต่เป็นการยอมรับสภาวะที่เกิดขึ้น และยอมให้ผู้ป่วยเสียชีวิตตามธรรมชาติ
การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
สนับสนุนให้มีการทํา Family meeting
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายหรือ palliative careในหอผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
มักขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพที่ทรุดลง
อย่างเฉียบพลัน ส่งผลให้มีความคาดหวังสูงที่จะดีขึ้นจากภาวการณ์เจ็บป่วยที่รุนแรง
ความไม่แน่นอนของอาการ
การรักษาในไอซียูผู้ป่วยมีโอกาสที่จะดีขึ้นแล้วกลับไปทรุดลงได้หลายครั้ง
Multidisciplinary team
มีทีมแพทย์ที่ดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า 1 สาขา
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
เนื่องจากทีมสุขภาพมักมุ่งประเด็นไปที่การหายของโรคมากกว่าความสุขสบายของผู้ป่วย
Professional culture
เพื่อมุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
ทรัพยากรมีจํากัด
การใช้จึงควรพิจารณาใช้กับ
ผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษาให้อาการดีขึ้นได้
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
มักจะพลุกพล่าน วุ่นวาย มีเสียงสัญญาณเตือนดังเกือบตลอดเวลา ไม่เหมาะกับการเป็นสถานที่สุดท้ายก่อนผู้ป่วยจะจากไป
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
แบบผสมผสาน
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น ๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
ข้อบ่งชี้ในการปรึกษา
Status post cardiac arrest
Diagnosis of intracerebral hemorrhage requiring mechanical ventilation
Diagnosis of active stage IV malignancy (metastatic disease)
Terminal dementia
Multi-system/organ failure at least three systems
Surprise question "No"
ICU admission after hospital stay at least 10 days
ข้อดี
ลดการรักษาที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
สามารถลดการเกิดปัญหาระหว่างทีมสุขภาพกับครอบครัวได้
สามารถลดอัตราการครองเตียงในไอซียูได้
ลดการเกิด “ICU strain”
ทีม palliative care เปrนทีมที่ชํานาญมีความรู้
เป็นประโยชน์ต่อการดูแลต่อเนื่องหลังจากออกจากไอซียู
ทีมสุขภาพที่ทํางานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
ข้อจํากัด
รูปแบบการดูแลแบบนี้ยังไม่มีหลักฐานว่าสามารถลดอัตราการครองเตียงได้
หลักการดูแลผู้ป่วยแบบ palliative care คือ “ABCD”
Behavior หมายถึง การปฏิบัติต่อผู้ป่วยและญาติ ควรปฏิบัติอย่างให้เกียรติ ทั้งวัจนะ และ อวัจนะภาษา
Compassion หมายถึง มีความปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้ป่วยและญาติไม่ทุกข์ทรมาน
Attitude หมายถึง ทัศนคติของทีมสุขภาพอาจส่งผลต่อการปฏิบัติงาน
Dialogue หมายถึง เนื้อหาของบทสนทนาควรมุ่งเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วย มิใช่ตัวโรค
ข้อดี
ผู้ป่วยทุกคนจะได้รับการดูแลแบบ palliative care โดยไม่จําเป็นต้องมีเกณฑ์ตัดสินและไม่คํานึงถึงการพยากรณ์โรค
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
ทีมสุขภาพสามารถจัดสิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วยวิกฤติให้สงบที่สุดที่พอจะเป็นไปได้ช่วงเวลานี้ควรให้ครอบครัวคนใกล้ชิดอยู่ด้วยเท่านั้น
อาจเสนอพิธีทางศาสนาให้ผู้ป่วยและครอบครัว อํานวยความสะดวกจัดหาเก้าอี้ให้พอเพียงกับครอบครัว
พิจารณาย้ายผู้ป่วยไปยังหอผู้ป่วยที่ญาติสามารถเข้าเยี่ยมได้ใกล้ชิด สงบ และมีความเป็นส่วนตัว
การเตรียมตัวผู้ป่วย ได้แก่
ยุติการรักษาที่ไม่จําเป็น
นําสายต่าง ๆ ที่ไม่จําเป็นออก
ทําความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกายผู้ป่วย
ให้คงไว้เพียงการรักษาที่มุ่งเน้น
ให้คุมอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ยุติการเจาะเลือด
ควรทําการยุติการให้ผู้ป่วยได้รับยาหย่อนกล้ามเนื้อ
ให้ยาที่มักจําเป็นต้องได้ เช่น มอร์ฟิน
อธิบายครอบครัวถึงอาการต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และวิธีการจัดการช่วงเวลานี้
ทําการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่าง ๆ
แพทย์ควรทําการเข้าเยี่ยมบ่อย ๆ
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
แพทย์จะต้องเป็นผู้ให้ข้อมูลโรคหรือสภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย รวมถึงบอกผลการรักษาที่น่าจะเป็นไปได้อย่างครบถ้วนตรงจริงแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
Surprise question คือ การตั้งคําถามว่า “จะประหลาดใจหรือไม่ถ้าหากผู้ป่วยคนนี้จะเสียชีวิตในอีก 6-12 เดือนข้างหน้า” ถ้าหากไม่ประหลาดใจ ผู้ป่วยรายนั้นก็ควรได้รับการดูแลแบบ palliative care
การประชุมครอบครัว (Family meeting)
เป้าหมายในการรักษา
ทําทุกอย่างเต็มที่
ลองทําดูก่อน แล้วถ้าตอบสนองไม่ดี อาจพิจารณายุติการรักษาบางอย่าง
มุ่งเน้นให้สุขสบาย
โดยสาระสําคัญอาจสรุปได้ดังนี้
4.รับฟังอย่างตั้งใจ และเริ่มอธิบายญาติเห็นถึงความทุกข์ทรมานของการรักษาที่ผ่านมาและระบุถึงความทุกข์ทรมานอย่างอื่นพี่อาจจะตามมา
เตือนให้ญาติคํานึงถึงความปรารถนาของผู้ป่วย
หลังจากนั้นผู้นําการประชุมครอบครัวทําการเล่าอาการให้ฟัง
ถ้าหากมีการร้องไห้ ควรให้ญาติร้องโดยมิขัดจังหวะ
ทําการฟังอย่างตั้งใจ
ผู้นําการประชุมครอบครัวควรทําการสะท้อนอารมณ์ของญาติเป็นระยะ ๆ
รู้จักตัวตนของคนไข้
เน้นย้ำกับญาติว่า แผนการรักษาทั้งหมด เป็นการตัดสินใจร่วมกันของทีมสุขภาพและครอบครัวโดยมีจุดมุ่งหมายเดียวคือเพื่อสิ่งที่ดีที่สุดสําหรับผู้ป่วย
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆ
การใส่ใจประเมินอาการ และจัดการอาการไม่สุขสบายอย่างเต็มที่ อาการไม่สุขสบายที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต คือ หอบเหนื่อย ปวด ภาวะสับสน เป็นต้น
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
มีคําแนะนําว่าเมื่อไหร่ผู้สูญเสียจําเป็นต้องพบแพทย์หรือนักจิตบําบัดเพื่อปรึกษาปัญหา
ให้แสดงว่าการเสียใจกับการสูญเสียเป็นสิ่งปกติรวมถึงอาจมีเอกสารคําแนะนําการดูแลร่างกายและจิตใจผู้สูญเสีย
ไม่ควรพูดคําบางคํา เช่น “ไม่เป็นไร” “ไม่ต้องร้องไห้” เป็นต้น
การสื่อสาร
ผลดี
พบว่าสามารถลดความไม่จําเป็นในการใช้เครื่องพยุงชีพ สามารถลดระยะเวลานอนรักษาในไอซียู
หลักการในการสื่อสารในไอซียู คือ
หลีกเลี่ยงคําศัพท์แพทย์
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
มีความเห็นใจครอบครัวที่ต้องประเชิญเหตุการณ์นี้
ควรมีแผ่นพับแนะนําครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนทําการประชุมครอบครัว
บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
ปล่อยให้มีช่วงเงียบ เพื่อให้ญาติได้ทบทวน
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด ถ้าเป็นการแจ้งข่าวร้าย อาจจะใช้ SPIKES protocol
เนื้อหาที่จะพูดคุยนั้นอาจแบ่งตามช่วงเวลาที่ผู้ป่วยเข้ารักษาในไอซียู
การเริ่มประชุมครอบครัวควรทําอย่างช้าที่วันที่ 3 และวันที่ 5 พบว่าทําให้ครอบครัวมีความพึงพอใจต่อการให้บริการมากขึ้น ควรหลีกเลี่ยงการเริ่มประชุมครอบครัวเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมีอาการแย่ลง
8.1 การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะต่อรอง (Bargaining)
จะต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้างหรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประเมินได้จากการพูด
“อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน” “ฉันรู้ว่ามันร้ายแรง คงรักษาไม่หาย แต่ฉันอยาก....”
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ออกห่างจากสังคมรอบข้าง เบื่อหน่าย เก็บตัว
ไม่ค่อยพูดคุย ถามคำตอบคำ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
หรืออาจร้องไห้ หงุดหงิดง่าย คิดหมกมุ่นเกี่ยวกับความตาย คิดว่าตนไร้ค่า ไม่มีความหมาย มีการบกพร่องในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และหน้าที่การงาน
ระยะโกรธ (Anger)
ปฏิกิริยาอาจออกมาในลักษณะ อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
“ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา” “ไม่ยุติธรรมเลย ทำไมต้องเกิดกับเรา”
5.ระยะยอมรับ (Acceptance)
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น ปรับตัว และเรียนรู้เพื่อให้ดำเนินชีวิตต่อไปได้
ระยะปฏิเสธ (Denial)
จะรู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ ไม่เชื่อไม่ยอมรับความจริง ไม่เชื่อผลการรักษา
“ไม่จริงใช่ไหม” หรือ “คุณหมอแน่ใจรึเปล่าว่าผลการตรวจถูกต้อง”
พยาบาลมีบทบาทดังนี้
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน ให้โอกาสในการระบายความรู้สึก
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ได้ซักถาม
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติว่า แพทย์และทีมสุขภาพทุกคนจะให้การดูแลอย่างดีที่สุด
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสม (ก้าวร้าว ด่าว่า เอะอะโวยวาย) เนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วย
รุนแรงได้
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้จากการเจ็บป่วยรุนแรง
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริงเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
ท้อแท้ ผิดหวังต่อโชคชะตาเนื่องจากคิดว่าถูกพระเจ้าลงโทษหรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์
กลัวตาย
เศร้าโศกทุกข์ใจเนื่องจากสูญเสียบุคคลที่มีความสำคัญต่อตน
การเผชิญปัญหาและการปรับตัวของครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากครอบครัวต้องเผชิญกับการเจ็บป่วย
รุนแรงของผู้ป่วย
หวาดกลัวต่อสิ่งต่างๆเนื่องจากขาดสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ