Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, นายฐากูร พิมมงละ เลขที่ 2 36/1 612001002,…
เด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง
แบ่งได้ 2 ชนิด
Primary febrile convulsion(ไม่มีอาการผิดปกติทางสมอง
Secondary febrile convulsion(มีอาการผิดปกติทางสมอง)
การรักษา
ระยะมีกำลังมีอาการชัก
ชักไม่เกิน5นาที ทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาdiazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก
ให้ยาลดไข้(เน้นขณะชักห้ามให้ยาชนิดรับประทาน)
ระยะหลังชัก
ซักประวัติ ตรวจร่างกายละเอียด
ให้ยาป้องกันชัก รับประทานทุกวันนาน 1-2 ปี เช่น Phenobarbital , Depakine
โรคลมชัก (Epilepsy)
แบ่งตามลักษณะอาการ
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy ไม่ผิดปกติทางประสาท
Secondary generalized epilepsyผิดปกติทางระบบประสาท
สาเหตุ
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
ใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
ตามวินิจฉัย เช่นผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet จัดสัดส่วนอาหารปริมาณ -ไขมันสูง , คาร์โบไฮเดรต โปรตีนต่ำ
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำ ทานยาต่อเนื่องอย่างน้อย2ปี ห้ามหยุดยาเอง , พบแพทย์ตามนัด
Cerebrospinal fluid test
Pressure เด็กโต = 110-150 mmH2O , ทารก 100 mmH2O
ไม่พบ Red cells , White cell count
Glucose 50-75 mg/dl(ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลในเลือด)
Protein 14-45 mg/dl
ชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepitc meningitis)
พยาธิ (Eosinophilic meningitis)
เชื้อรา (Fungal memingitis)
Cerebrospinal fluid test
Glucose 50-75 mg/dl(ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลในเลือด)
Pressure เด็กโต = 110-150 mmH2O , ทารก 100 mmH2O
ไม่พบ Red cells , White cell count
Protein 14-45 mg/dl
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
การระคายเคืองเยื้อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลังที่เป็นสาเหตุ
การรักษาตามอาการ
ควรฉีดวัคซีน เช่น Hib vaccine , JE vaccine,BCG
โรคไข้สมองอักเสบ(JE)
อาการ
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะมากขึ้น
อาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
อาจเกร็งชักกระตุก หรือหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit
ลดไข้ ลดการบวมของสมอง ระงับอาการชัก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะ
การป้องกัน
เลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด เวลาพลบค่ำ
ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
รฉีดวัคซีน 3 ครั้ง ครั้ง1เมื่ออายุ 1ปีครึ่ง , ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 2-4 wk,ฉีดครั้งที่ 3 หลังจากฉีดเข็ม2 ได้1ปี
Hydrocephalus
คือภาวะการคั่งของน้ำไขสันหลังในกระโหลกศีรษะบริเวณventricle
สาเหตุ
การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการ
ศรีษะโต/ หัวบาตร
เด็กกระหม่อมยังไม่เปิด กระหม่อมจะหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำที่บริเวณใบหน้าหรือศรีษะโป่งตึงชัดเจน
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่างตาพล่ามัว เห็นภาพซ้อน
รีเฟลกซ์ และ tone ของขา2 ข้างไวกว่าปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
ความยาวเส้นรอบวงศีรษะ
แรกเกิด 35เซนติเมตร
2 เดือน 35+4 เซนติเมตร.
4 เดือน 39+3 เซนติเมตร
6 เดือน42+2 เซนติเมตร
8 เดือน44+1 เซนติเมตร
10เดือน 45+1 เซนติเมตร
1 ปี 45 เซนติเมตร
2ปี 47 เซนติเมตร
การรักษา
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (V-P Shunt)
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง(Diamox)
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ความดันในกระโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของน้ำไขสันหลัง
ประเมินอาการความดันในกระโหลกศีรษะสูง
วัดเส้นรอบวงศีรษะทุกวันเวลาเดียวกัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
จัดให้นอนบนที่นอนนุ่มๆ ใช้หมอนนุ่มรองศีรษะไหล่
เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
รักษาความสะอาดของผิวหนัง
จัดปูที่นอนให้เรียบตึง
ตรวจสอบประเมินการเกิดแผลกดทับสม่ำเสมอ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป
ภาวะแทรกซ้อนหลังทำผ่าตัดสายระบาย
1.การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
2.การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
3.การอุดตันของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
4. ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
5. ภาวะเลือดออกในศรีษะเนื่องจากการผ่าตัด
6. เกิดแผลเป็นที่สมอง
โรคสมองพิการ
1.ระยะก่อนคลอด มีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงตั้งครรภ์ 6-9เดือน
2.ระยะคลอด สมองขาดออกซิเจน อันตรายจากการคลอด คลอดยาก รกพันคอ คลอดท่าก้น ใช้คีมดึงเด็ก
3.ระยะหลังคลอด สมองได้รับการระทบกระเทือนที่ศีรษะตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด เส้นเลือดสมองผิดปกติ
อาการ
อ่อนปวกเปียก อาจหายใจช้า พัฒนาการช้า
ภาวะปัญญาอ่อนตั้งแต่ขนาดน้อยถึงมาก พูดไม่ชัด
การเคลื่อนไหวกับสมดุลของร่างกายมีความผิดปกติถ้าสมองส่วนที่เสียนั้นควบคุมการทรงตัว
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ได้แก่ diazepam,baclofen
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
ให้คำแนะนำในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวัน ส่งเสริมการฝึกทักษะการใช้ร่างกายส่วนต่างๆ ตามความสามารถ
การพยาบาล
1.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากมีปัญหาการรับประทานอาหาร
2.เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
3.เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร้องด้านการเคลื่อนไหว/ระบบประสาท
4.บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
Down ’s syndrome
ความผิดปกติทางโครโมโซมคู่ที่ 21 เป็นสาเหตุทำให้เด็กปัญญาอ่อน
อุบัติการณ์ ประมาณ 1:1,000
บิดามารดาของผู้ป่วยจะมีโครโมโซมปกติ
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ต่ำ , brush field spot
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น มักจะมี simian crease
นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่าปกติและพบ distal triradius ในฝ่ามือ
ทางเดินอาหารอุดตัน ที่ duodenum stenosis
Hypothyroidism , Polycythemia
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา เช่น ต้อกระจก ต้อหิน ตาเข สายตาสั้น
ความผิดปกติเกี่ยวกับหู เช่น ช่องรูหูเล็ก มีปัญหาการได้ยิน
อวัยวะเพศของผู้ชายอาจเล็กกว่าปกติ พัฒนาการทางเพศช้า
หัวใจพิการแต่กำเนิด
การติดเชื้อ โดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจเกิดง่ายกว่าเด็กทั่วไป
การรักษา
การกระตุ้น-ส่งเสริมพัฒนาการเหมาะสมตามวัยตั้งแต่อายุยังน้อย
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
รักษาโรคทางกายร่วม เช่น โรคหัวใจ ระบบทางเดินอาหารอุดกั้น ภาวะhypothyroidism
Spina bifida
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดแผล
หมั่นตรวจสอบการฉีกขาด รั่ว
ประเมินการติดเชื้อ
อาเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากมีการคั่งน้ำปัสสาวะ
ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
กล้ามเนื้อแขน ขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการเคลื่อนไหวร่างกายผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขา
การควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
นายฐากูร พิมมงละ เลขที่ 2 36/1 612001002
ตั้งใจเรียน (A A A)