Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 การดูแลสุขภาพข้ามวัฒนธรรม F31AE7C0-8C90-41DC-B74D-C732FF4E59DF -…
บทที่1 การดูแลสุขภาพข้ามวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
พื้นฐานสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้
เป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์
กระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
เป็นสิ่งที่ไม่อยู่นิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ
จับต้องได้ สัญลักษณ์ เครื่องหมาย ภาษา
องค์การเรียนหรือสมาคม
มีโครงสร้าง ระเบียบ ข้อบังคับ
องค์พิธีหรือพิธีการ
งานบวช การแต่งชุดดำ มารยาทในสังคม
องค์มติหรือมโนทัศน์
ความคิด ความเชื่อ อุดมการณ์
ความสำคัญของวัฒนธรรม
เป็นเครื่องมือกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
ทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม
มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้เข้ากับพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่ต่างจากสัตว์
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็น2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ
การแต่งกาย
การแสดงพื้นบ้าน
จิตรกรรม ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
ค่านิยม
ความเชื่อ
ความศรัทธาในศาสนา
ปรัชญา
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวางหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
วัฒนธรรมดั้งเดิม
Tranditional Culture
ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม
วัฒนธรรมองค์กร
Organizational Culture
ปรัชญา วิสัยทัศน์ เข็มมุ่งแผนกลยุทธ์
แนวคิดเกี่ยวกับ วัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพใน 4 มิติ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
อาหาร เครื่องดื่ม ออกกำลังกาย ถือศีลสมาธิ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
กำจัดยุง ฉีดวัคซีน กำจัดขยะ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
แบบพื้นบ้าน แบบวิชาชีพ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
อาหาร ออกกำลังกาย
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
ส่งเสริมสุขภาพ
ออกกำลังกาย วิตามิน อาหารเสริม ละเว้นยาเสพติด
ป้องกันโรค
รับประทานอาหารที่มีคุณค่า การพักผ่อน การล้างมือ ฉีดวัคซีน
วัฒนธรรมดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
รักษาโรค
การรักษาแบบพื้นบ้าน การรักษาแบบตะวันตก
ฟื้นฟูสมรรถภาพ
การอยู่ไฟ การทำกายภาพบำบัด
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพแบ่งตามผลประโยชน์และโทษ
แนวคิดหลัก 5 ประการ
A=awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
กระบวนการรู้คิดของบุคลากรสุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของ การให้คุณค่า ความเชื่อ วิถีชีวิต พฤติกรรม และวิธีการแก้ปัญหาของผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม
หากบุคคลากรสุขภาพ(พยาบาล)ยังไม่เข้าใจ ลึกซึ้งในวัฒนธรรมตนเอง ก็มีโอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมบริการที่ไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรมได้
S=Skill
การทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม
การประเมินสุขภาพเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และครอบคลุม นำไปสู่การสร้างความร่วมมือกับผู้รับบริการเพื่อให้เกิดการดูแลแบบองค์รวมที่สอดคล้องกับบริบทของวัฒนธรรม
K=Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
การแสวงหาความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ของบุคคลที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถเข้าใจโลกทัศน์ของผู้รับบริการผ่านมุมมองของผู้รับบริการเอง
E=Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม
การที่บุคลากรสุขภาพมีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสมสำหรับผู้รับบริการที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกัน มีการสื่อสาร
ทั้งทางวัจนภาษาและอวัจนภาษาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามกาลเทศะของแต่ละวัฒนธรรม
D=Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถภาพทางวัฒนธรรม
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถภาพทางวัฒนธรรมของบุคลากรสุขภาพที่ทำให้ ต้องการเข้าไปสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุด ของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพที่ส่งเสริมสุขภาพแบ่งตามประโยชน์และโทษ
ส่งเสริมสุขภาพ
นมแม่2ปี(Universal)
ไม่ได้ให้ประโยชน์
ห้ามกินกล้วยแฝด(ไทย)
ไม่แน่ใจว่าให้คุณหรือโทษ
กินดิน(ไทย-อัฟริกัน)
ให้โทษ
กินอาหารสุกๆดิบๆ(ไทย-ญี่ปุ่น)
ระบบการดูแลสุขภาพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสิ่งที่ปรากฏอยู่จริง
สุริยุปราคา โลกกลม
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
ประสบการณ์ชีวิต แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ความเชื่อแบบประเพณี
ผีปู่ย่า เจ้าป่าเจ้าเขา พญานาค
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ศาสนา อาหาร การออกกำลังกาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ด้านจิตวิทยา
รับรู้ เรียนรู้
สังคมและวัฒนธรรม
ขัดเกลา ควบคุม ปฏิสัมพันธ์เปลี่ยนแปลง
ด้านบุคคล
เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
และวิธีดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ผีปู่ย่า ไสยศาสตร์ สะเดาะเคราะห์
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
ไหว้ครู ปล่อยปลา หมอเป่า แพทย์แผนจีน
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
โรคทางพันธุกรรม ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคม การทำแท้ง
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
การตั้งครรภ์ การคลอด การอยู่ไฟหลังคลอด
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นบ้าน
อาหารบำรุงกำลัง สมุนไพร การเล่นหมากรุก
แบบแพทย์แผนตะวันตก
การผ่าตัด การเสริมความ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ
แบบพื้นบ้าน
การซื้อเตียงเมื่อนอนโรงพยาบาล การนิมนต์พระมาสวด
แบบแพทย์แผนตะวันตก
เทคโนโลยีทางการแพทย์ ภาวะสมองตาย
ค่านิทางสังคม
เป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นๆโดยตรง มีคุณค่าในชีวิต นำไปสู่การมีแบบแผนการกระทำ หรือพฤติกรรม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่านิยมทางสังคม
ครอบครัว
โรงเรียน
สถาบันศาสนา
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
สื่อมวลชน
องค์การของรัฐบาล