Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน ระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด - Coggle…
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน
ระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด
Preterm
Preterm birth การคลอดทารกตั้งแต่อายุครรภ์240/7สัปดาห์ ถึง 366/7สัปดาห์
Preterm labour การเจ็บครรภ์คลอดที่มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่่าเสมอซึ่งมีผลท่าให้เกิดการบางตัวลง และ/หรือการขยายตัวของปากมดลูกตั้งแต่อายุครรภ์240/7 สัปดาห์* ถึง 366/7สัปดาห์
สาเหตุ
อายุอายุต่่ากว่า 18 ปี หรือมีอายุมากว่า 34 ปี
• ประวัติทางสูตินรีเวชกรรม มีประวัติการคลอดก่อนก่าหนดมาก่อน
• สภาพเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว ครอบครัวที่มีฐานะยากจนหรือมีรายได้น้อย
• ความเครียด
• การดื่มแอลกอฮอล
ผลกระทบต่อทารก
ภาวะปอดไม่สมบูรณ์
• ภาวะเลือดออกในสมองอย่างเฉียบพลัน
• การติดเชื้อ
• น้ าหนักตัวน้อย
• พัฒนาการช้า
• การมองเห็น
•การได้ยิน
• โลหิตจาง
• การหยุดหายใจในทารกแรกเกิด
• ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
• ภาวะโรคปอดเรื้อรัง
• ภาวะล าไส้เน่าตายอย่างเฉียบพลัน
• เสี่ยงต่อการเสียชีวิต
ผลกระทบต่อมารดา
ปัญหาด้านจิตใจ: มีความเครียดสูง กลัวเลี้ยงลูกไม่รอด กลัวลูกไม่แข็งแรง กังวลค่าใช้จ่ายในการรักษา
ปัญหาด้านสังคม : เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา
Uterine rupture
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังมดลูกในขณะตัองครรภ์หลังจากทำรกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ และเกิดการฉีกขาดระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างเจ็บครรภ์ หรือระหว่างการคลอดโดยไม่รวมการแตกหรือฉีกขาดในการตั้งครรภ์นอกมดลูก หรือการทะลุของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
ลักษณะ
• มดลูกแตกสมบูรณ์ (Complete rupture) รอยแตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง(peritoneum) ทารกมักจะหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
• มดลูกแตกไม่สมบูรณ์ (Incomplete rupture) รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneumมีการฉีกขาดของชั้นกล้ามเนื้อมดลูกเท่านั้น
• มดลูกปริ (Dehiscence) อาจไม่พบอาการอะไรเลย ในรายที่เคยผ่าตัดมดลูก แผลเก่าอาจปริแยกจากกันโดยเยื่อหุ้มรกยังไม่แตก
ซึ่งอาการอาจด่าเนินอย่างค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป และในระยะคลอดมดลูกปริ อาจจะกลายเป็นมดลูกแตกได
ปัจจัยเสี่ยง
• การเคยมีแผลที่ตัวมดลูกมาก่อน เช่น การผ่าตัดคลอด การผ่าตัดก้อนเนื้องอกมดลูก การขูดมดลูก เป็นต้น
• ภาวะมดลูกผิดปกติแต่ก่าเนิด
• การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก เช่น oxytocin หรือmisoprostol
• การคลอดติดขัดจากการผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานหรือทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
• การใช้หัตถการช่วยคลอด หรือ
• มีประวัติได้รับอุบัติเหตุรุนแรง
อาการทางคลินิก
เลือดออกทางช่องคลอดหรือในช่องท้อง
ปวดท้อง
มีภาวะซีดหรือช็อค
ทารกมีภาวะ fetal distress หรือเสียชีวิตอย่างฉับพลัน
ตรวจภายในอาจคล่าไม่ได้ส่วนน่าของทารกหากทารกหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
ตรวจหน้าท้องอาจคล่าได้ส่วนน่าของทารกลอยสูงขึ้นและคล่าได้ส่วนต่างๆ ของทารกชัดขึ้น
การดูแลรักษา
ประเมินสภาวะและกู้ชีพมารดาก่อนทารกเสมอ
ผ่าตัดฉุกเฉิน (exploratory laparotomy) ทุกรายทันที ไม่ว่าทารกจะมีชีวิตอยู่หรือไม่
เย็บซ่อมแซมหรือตัดมดลูกขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของรอยแตกและความต้องการมีบุตรอีกหรือไม่ (ในรายที่เย็บซ่อมแซมอาจพบมีความเสี่ยงต่อมดลูกแตกซ้่าในครรภ์ต่อไปได้ จึงอาจต้องพิจารณาท่าหมันร่วมด้วย)
Postterm pregnancy
ความหมาย กำรตั ้งครรภ์ที่มีอำยุครรภ์ 42 สัปดำห์เต็ม (294 วัน)
หรือมำกกว่ำ โดยเริ่มนับจำกวันแรกของประจ ำเดือนครั ้งสุดท้ำย (Last menstrual period : LMP)
ปัจจัยเสียง กำรตั้งครรภ์ที่มีอำยุครรภ์ 42 สัปดำห์เต็ม (294 วัน)
หรือมำกกว่ำ โดยเริ่มนับจำกวันแรกของประจ ำเดือนครั ้งสุดท้ำย (Last menstrual period : LMP)
ผลกระทบต่อมารดา
• การคลอดที่อายุครรภ์41 สัปดาห์ พบระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอดนานขึ้น อัตราการท่าหัตถการ
ทางสูติศาสตร์ทั้งผ่าตัดคลอดและช่วยคลอดด้วยคีมสูงขึ้น
• ในอายุครรภ์ 42 สัปดาห์ มีอัตราการชักน่าการคลอด การผ่าท้องท่าคลอดจากสาเหตุการคลอดติดขัด
และ fetal distress มากขึ้น และทารกต้องเข้ารับการรักษาใน NICU มากขึ้น อุบัติการณ์ของ
neonatal seizure และการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
ผลกระทบ
ต่อทารก
1 morbidity and mortality เพิ่มขึ้นตามอายุครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ผิดปกติ
ขี้เทาปนในน้ าคร่ า และปัญหาการส าลักขี้เทา ( meconium stain and pulmonary aspiration)
hypothermia, hypoglycemia neonatal seizure , metabolic disorder
syndrome
ผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอก
มีภาวะน้ าคร่ าน้อย (Oligohydramnios) พบร้อยละ 88
รกเสื่อมสภาพ ( placental dysfunction) ในอายุครรภ์ตั้งแต่41 สัปดาห์ จะพบการตายของเซลล์รกเพิ่มขึ้น
placental apoptosis
การวินิจฉัย
• กรณีจำประจำเดือนสุดท้ายได้แม่นยำ GA
• กรณีจำประจำเดือนสุดท้ายไม่ได้ HF, U/S
Amniotic fluid embolism
การที่มีน้่าคร่่าพลัดเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา
มักเกิดตามหลังเหตุการณ์ต่างๆทางสูติศาสตร
สาเหตุ
มีรูรั่วหรือการแตกของถุงน้่าคร่่า
มีทางติดต่อกันของน้่าคร่่ากับหลอดเลือดของมารดา
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรงช่วยขับน้่าคร่่าเข้าสู่กระแสเลือดมารดา
วินิจฉัยจากอาการแสดง
หายใจล่าบาก (gasping of air) อย่างฉับพลันเกิดภาวะออกซิเจนในเลือดต่่า (hypoxia)
ความดันโลหิตต่่าลงอย่างรวดเร็วจนวัดสัญญาณ ชีพไม่ได้ (cardiorespiratory arrest)
มีเลือดออกปริมาณมากจากการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
มีอำกำรชักร่วมด้วย
กำรให้ออกซิเจน (oxygenation) อย่ำงเพียงพอ
เพิ่มกำรไหลเวียนของเลือด (circulation) ป้องกันควำมดันโลหิตต ่ำและ left ventricular failure
ป้องกันควำมผิดปกติของกำรแข็งตัวของเลือด (consumptivecoagulopathy) หรือด ำเนินกำรแก้ไขโดยเร็วเมื่อเกิดควำมผิดปกต
Fetal vessel rupture
Fetal vessel rupture
-ตรวจภายในเห็นหรือคล่าพบเส้นเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ (synchronous) กับเสียงหัวใจทารก
มีเลือดออกทางช่องคลอดตามหลังหรือพร้อมๆ กับการแตกของถุงน้่าคร่่า (ทุกครั้งที่ท่าการเจาะถุงน้่าคร่่า (amniotomy) ต้องแน่ใจเสมอว่าไม่มีภาวะ vasa previa)
มีภาวะ fetal distress หรือทารกเสียชีวิตอย่างฉับพลันหลังเลือดออก
การรักษา
ประเมินสภาวะมารดาและทารก (สภาวะมารดามักไม่มีปัญหาเนื่องจากเลือดที่ออกเป็นเลือดทารก)
ถ้าวินิจฉัยได้หลังถุงน้่าคร่่าแตกแล้ว ต้องให้คลอดทันที
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนถุงน้่าแตก ให้ผ่าตัดคลอด