Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, นางสาว สุรีรัตน์ พึงประสพ…
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsion (ไม่มีความผิดปกติของสมอง)
Secondary febrile convulsion
(มีความผิดปกติของสมอง)
การรักษา
ระยะที่มีอาการชัก
กรณีที่มีการชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับอาการชัก
เช่น diazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก
2.ให้ยาลดไข้ร่วมกับ เช็นตัวลดไข้ (เน้นขณะชักห้ามให้ยาชนิดรับประทาน)
ระยะหลังชัก
1.ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานทุกวันนาน 1-2 ปี
Phenobarbital , Depakine
โรคลมชัก (Epilepsy)
แบ่งชนิดตามลักษณะอาการชัก 2 ชนิด
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy
ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsy
มีความผิดปกติในระบบประสาท
สาเหตุการชัก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้ เช่น ผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
คำแนะนำสำหรับผู้ปกครอง
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวันนาน อย่างน้อย 2 ปี
มาตรวจตามนัดเพื่อแพทย์ประเมินอาการและปรับระดับยากันชักให้เหมาะสม
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepitc meningitis)
(Eosinophilic meningitis)
เชื้อรา (Fungal memingitis
Cerebrospinal fluid test
Pressure เด็กโต = 110-150 mmH2O
ทารก 100 mmH2O
Red cells ไม่พบ
White cell count ไม่พบ
Glucose 50-75 mg/dl(ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลในเลือด)
Protein 14-45 mg/dl
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อ เช่น มีไข้
ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการแสดงของการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
การรักษา
การรักษาเฉพาะ คือ ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลังที่เป็นสาเหตุ
การรักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ ให้ยานอนหลับ ให้ยากันชัก
สมองอักเสบ (Encephalitis)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อปาราสิต
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
วัคซีนป้องกันโรคไอกรน
วัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง (Stiffness of neck)
ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24 – 72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน, เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
การให้ยา ระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง นอนหลับ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า – ออก ของร่างกาย
โรคไข้สมองอักเสบ
Japanese encephalitis (JE)
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะจะมากขึ้น มีอาการอาเจียน ง่วงซึม
บางรายอาจมีอาการเกร็งชักกระตุก
การตรวจวินืจฉัย
ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันคือตรวจหา IgM antibody เฉพาะต่อไวรัส เจอี ในน้ำไขสันหลังและในเลือด
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด ยุงนี้จะกัดเวลาพลบค่ำ
ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน 3 ครั้ง
โรคสมองพิการ
(Cerebral Palsy)
คนที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว เนื่องจากความผิดปกติในการทำงานของสมองทำให้ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ อย่างเป็นปกติได้ โดยเกิดขึ้นก่อนอายุ 8 ปี
สาเหตุ
ระยะคลอด
สมองขาดออกซิเจน ได้รับอันตรายจากการคลอด
ระยะหลังคลอด
การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด
ระยะก่อนคลอด
มารดามีภาวะชักหรือมีภาวะปัญญาอ่อน
อาการและอาการแสดง
หายใจช้า พัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อนตั้งแต่ขนาดน้อยถึงมาก พูดไม่ชัดเจน
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ได้แก่ diazepam,baclofen
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
ข้อวินิจฉัย
ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากปัญหาการรับประทานอาหาร
เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัย เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร้องด้านการเคลื่อนไหว/ระบบประสาท
Hydrocephalus
สาเหตุ
การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ศีรษะโต/ หัวบาตร
กระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำ
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตาพล่ามัว เห็นภาพซ้อน
การพยาบาล
ดูแลให้รับนมน้ำครั้งละน้อยๆโดยแบ่งให้บ่อยครั้ง
ขณะให้นมอุ้มท่าศีรษะสูงเสมอ
หลังให้นมจับเรอไล่ลม
Myelomeningocele
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Alphafetoprotien ในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
ข้อวินิจฉัย/การพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
ไม่นุ่งผ่าอ้อม
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดแผล
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขาการควบคุมการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่ายจากการปนเปื้อนอุจจาระปัสสาวะ
จัดท่านอนตะแคงหรือคว่ำไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลทำความสะอาดแผล
ดูแลให้ยา Antibiotic / check V/S
Down ’s syndrome
เป็นความผิดปกติทางโครโมโซมคู่ที่ 21
อุบัติการณ์ ประมาณ 1:1,000
โอกาสเสี่ยงจะสูงขึ้นถ้ามารดามีอายุมากกว่า 30 ปี
บิดามารดาของผู้ป่วยจะมีโครโมโซมปกติ
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ต่ำ
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
brush field spot
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
อวัยวะเพศของผู้ชายอาจเล็กกว่าปกติ พัฒนาการทางเพศช้า
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัยตั้งแต่อายุยังน้อย(early stimulation)
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
โรคหัวใจ
ระบบทางเดินอาหารอุดกั้น
ภาวะฮัยโปไทรอยด์และอื่นๆ
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
Guillain Barre ‘s Syndrome
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ โดยมีการสร้างแอนติบอดีย์ต่อ Myelin sheath ของเส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนที่เป็น spinal nerve roots ทำให้ไขสันหลังไม่สามารถติดต่อสั่งงานมายังกล้ามเนื้อได้ตามปกติ
อาการและอาการแสดง
Sensation
เริ่มมีอาการเหน็บชา
อาการอาจเริ่มด้วยอาการคล้ายเป็นตะคริว
มีอาการอ่อนแรง ชา สูญเสีย reflex
Motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Flaccid motor paralysis)
อาการอัมพาตใน GBS จะเริ่มต้นที่ขา
เดินลำบาก
อาการของประสาทสมอง
ประสาทสมองคู่ที่ 7 (Facaial nerve) พบความผิดปกติ
มีอัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
ผู้ป่วยจะมีอาการกลืน พูด และหายใจลำบาก
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
medulla oblongataเกิดความผิดปกติ
การเต้นหัวใจผิดจังหวะ
ความดันโลหิตไม่คงที่
การรักษา
เปลี่ยนถ่ายพลาสมา (Plasma Exchange หรือ Plasmapheresis)
Intravenous Immunglobulin (IVIG)
การพยาบาล
Check vital sign โดยเฉพาะ RR ต้องมีการตรวจวัด vital capacity , tidal volume หรือ minute volume
ให้ออกซิเจน ถ้ามีภาวการณ์หายใจไม่พอจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจพร้อมเครื่องช่วยหายใจ
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
ประคับประคองด้านจิตใจ ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดีสำหรับผู้ป่วย
นางสาว สุรีรัตน์ พึงประสพ เลขที่ 46 รุ่น 36/2 รหัส 612001127