Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
ชีพจร
ความหมาย
การหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือดเกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายทำให้ขึ้นความดันเลือดไปดันผนังเส้นเลือดแดงให้ขยายในขณะที่ เลือดไหลผ่านไปตามเส้นเลือด ถ้าใช้นิ้วมือกดเส้นเลือดไว้จะรู้สึกเส้นเลือดมีการเต้นเป็นจังหวะจังหวะการเต้นของเส้นเลือดจะสัมพันธ์กับการเต้นของหัวใจโดยตรง
-
-
หลักการ
ประเมินชีพจร
-
-
วิธีการปฏิบัติ
-
-
พยาบาลวางปลายนิ้วพยาบาลวางปลายนิ้วชี้นิวกลางนิ้วนางกดลงเบาเบาตรง Radial artery ของผู้ป่วยทำให้รู้สึกถึงการหดตัวและขยายตัวของหลอดเลือด
-
-
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
อัตราการเต้นของชีพจร
อัตราการเต้นของหัวใจในผู้ใหญ่มากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีเรียกว่า Tachycardia
อัตราการเต้นของหัวใจในผู้ใหญ่น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาทีเรียกว่า Bradycardia
จังหวะ
จังหวะของชีพจร เต้นสม่ำเสมอ เรียกว่า Pulse regularis
จังหวะชีพจรที่ผิดปกติ เต้นไม่สม่ำเสมอ เรียกว่า Arrhythmia
ปริมาณความแรง
ระดับ 0 ไม่มีชีพจร คลำชีพจรไม่ได้
ระดับ 1 Thready มีลักษณะชีพจรแผ่วเบา
ระดับ2 Weak ชีพจรแรงกว่าระดับ 1|ค่อนข้างเบา
อุณหภูมิของร่างกาย
ความหมายของอุณหภูมิ
อุณหภูมิของร่างกายเป็นระดับความร้อนของร่างกาย
ซึ่งเกิดจากความสมดุลของการสร้างความร้อนของร่างกาย
และการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม
มีหน่วยเป็นองศาเซลเซียสหรือองศาฟาเรนไฮต์
-
-
-
-
-
ความดันโลหิต
ความหมาย
แรงดันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดง
มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรปรอท ค่าความดันโลหิตที่วัดมีสองค่า Systolic pressure และ Diastolic pesssure
-
การประเมินความดันโลหิต
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ จัดท่าเหยียดแขนข้างที่จะวัดให้อยู่ในท่าที่สบายที่สุดหงายมือขึ้น พับแขนเสื้อข้างที่จะวัดขึ้นไปเหนือข้อศอก
วางเครื่องวัดให้อยู่ในระดับเดียวกับหัวใจของผู้ป่วย
โดยเครื่องวัดอยู่ตรงระดับสายตาห่างจากตาไม่เกิน 3 ฟุต
-
-
-
บีบลูกยางด้วยอุ้งมือให้ลมเข้าไปในผ้าพันแขน ดันให้ปรอทในเครื่องวัดสูงกว่าค่าปกติของ systolic pressure ประมาณ 20 มิลลิเมตรปรอท
-
-
-
-
-
สัญญาณชีพ
(Vital signs)
ความหมายของสัญญาณชีพ
เป็นสิ่งที่แสดงให้ทราบถึงการมีชีวิตสามารถสังเกตและตรวจพบได้จากอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต สิ่งเหล่านี้เกิดจากการทำงานของอวัยวะของร่างกายที่สำคัญมากต่อชีวิตซึ่งในภาวะปกติสัญญาณชีพอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้บ้างเล็กน้อย เมื่อใดที่สัญญาณชีพผิดปกติผู้ป่วยจะต้องได้รับการเฝ้าระวังและค้นหาสาเหตุอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากแสดงว่ากำลังเกิดความผิดปกติกับร่างกาย
เช่น ร่างกายอาจได้ออกซิเจนไม่เพียงพอ เสียเลือด เสียความสมดุลของน้ำและอิเล็กโตไลท์ต่อการติดเชื้อหรือมีปัญหาในการปรับตัวของร่างกายและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
-
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ = 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
ชีพจร = 60-100 ครั้ง/นาที
หายใจ =12-20 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต Systolic = 90-140 mmHg
Diastolic= 60-90 mmHg
การหายใจ
-
การประเมินการหายใจ
เป็นการนับอัตราการหายใจเข้าและออก นับเป็นการหายใจหนึ่งครั้ง
ไปจนครบ 1 นาทีเต็ม มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการทำงานของปอด
นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึกจังหวะและลักษณะการหายใจในผู้ป่วยสังเกตุการเคลื่อนไหวของทรวงอก. ในเด็กสังเกตการเคลื่อนไหวของท้อง
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
-
-
จังหวะของการหายใจ
Cheyne stokes
เป็เป็นการหายใจเป็นช่วงๆไม่สม่ำเสมอ
หายใจเร็วลึกและตามด้วยช่วงที่หยุดหายใจและกลับมาหายใจเร็วอีก
Biot
เป็นการหายใจปกติสลับกับการหายใจเร็วหรือไม่สม่ำเสมอ
เป็นช่วงสั้นๆ สองถึงสามครั้งแล้วตามด้วยหยุดหายใจช่วงสั้นๆ
-
-
-
-