Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุผลทางสูติกรรม - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุผลทางสูติกรรม
การใช้ยาในระยะตั้งครรภ์
ยาแก้แพ้ท้อง (Antiemetics/Antinauseants)
Antihistamines
Major tranquilizer
Vitamin B6 (pyridoxine)
Steroid Hormone
Sex hormone
progesterone
estrogen
androgen
progestin
Corticosteroids
ใช้กระตุ้นปอดทารกในครรภ์ให้เร่งสร้างสาร Surfactant ในทารกคลอดก่อนกำหนด
ยาที่ใช้ในการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
กลุ่ม Beta-adrenergic receptor agonists
ในประเทศไทยนิยมใช้ Terbutaline
ข้อบ่งใช้
มารดาอายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์ ที่มีอาการเจ็บครรภ์คลอด
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาที โดยปากมดลูกเปิดน้อยกว่า 3 เซนติเมตร
ข้อห้าม
หญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคหัวใจ
มีโรคทางอายุรกรรมอื่นๆ เช่น Hyperthyroidism เบาหวานที่ควบคุมไม่ดี ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ดี
Severe hypovolemia
ครรภ์แฝดหรือครรภ์แฝดน้ำ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
มีการติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
Fetal distress
มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์
ยาป้องกันการชัก MgSo4
ข้อบ่งใช้
ใช้ป้องกันการชักใน severe pre-eclampsia, eclampsia
การบริหารยา
Continuous Intravenous infusion
loading dose 10 % MgSO4 4 กรัมในน้ำ 100 มิลลิลิตรในเวลา 1 ชั่วโมง
แล้วต่อด้วย maintainance dose ในขนาด 1 – 2 กรัม / ชั่วโมง
Intramuscular
loading dose ด้วย 10 % MgSO4 4 กรัม น 10-15 นาที
พร้อมกับฉีด 50 % MgSO4 10 กรัมเข้าสะโพก
Antibiotic
Tetracycline
Streptomycin
Gentamycin
Kanamycin
Chloramphenical
Sulfonamide
Nitrofurantoin
Immunoglobulin and Vaccine
Anti-D immunoglobulin
Tetanus toxoid
การใช้ยาในระยะคลอด
ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Oxytocin
ใช้ในกรณี
ทดสอบสุขภาพทารกในครรภ์
ยุติการตั้งครรภ์
Postpartum Hemorrhage
การชักนำการคลอด และ การกระตุ้นการเจ็บครรภ์
การพยาบาล
ให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาทีและปรับขนาดยาเพิ่มขึ้นครั้งละ 5 drop/min ทุก 15-30 นาที จนมดลูกหดรัดตัวดี
ประเมินเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ทุก 15 นาที
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
record I/O
แจ้งให้ผู้คลอดทราบ
Ergot alkaloid
ใช้ในกรณี
หลังการแท้ง และหลังคลอดเพื่อป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
แจ้งให้ผู้คลอดทราบ
ซักประวัติการมีโรคประจำตัวของผู้คลอด
ตรวจวัดสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตเป็นระยะๆ
สังเกตอาการและภาวะแทรกซ้อน
เตรียมยาสำหรับแก้พิษหรือรักษาภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น Diazepam ใช้ในกรณีที่มีอาการชัก heparin ใช้เพื่อแก้ไขภาวะอาการเลือดแข็งตัวเร็วผิดปกติ Chlorpromazine ใช้ในกรณีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงและหลอดเลือดหดตัว
Prostaglandins
ข้อบ่งชี้
ทำให้ปากมดลูกนุ่มและเปิดกว้างขึ้นก่อนการทำแท้งและก่อนก่อให้เกิดการเจ็บครรภ์
รักษาภาวะ PPH
การพยาบาล
แจ้งให้ผู้คลอดทราบ
ซักประวัติการมีโรคประจำตัวของผู้คลอดก่อนให้ยา
ตรวจวัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
การให้ยาทางช่องคลอด แนะนำให้นอนหงายอย่างน้อย 30 นาที
continuous electronic monitoring
สังเกตอาการและภาวะแทรกซ้อน
สังเกตภาวะการตอบสนองของมดลูกมากเกินไป
ยาระงับความเจ็บปวดในระยะคลอด
ยาระงับความเจ็บปวดชนิดทั้งระบบ (General anesthesia)
ภาวะแทรกซ้อน
ทำให้เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน กดการหายใจ หัวใจเต้นช้า ความดันโลหิตต่ำ เหงื่อออกมาก เป็นลม และปัสสาวะคั่ง
กดการหายใจทารกแรกเกิด
การให้ยาชาเฉพาะที่สกัดกั้นประสาท (Regional anesthesia)
ข้อบ่งชี้
เมื่อมีอาการเจ็บครรภ์ ปากมดลูกเปิดช้า เจ็บปวดรุนแรง มีอาการกระสับกระส่าย
มีความดันโลหิตสูงหรือเป็นโรคหัวใจขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะหัวใจเต้นเร็ว
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้คลอดลดความสึกอยากเบ่งทำให้เพิ่มอัตราการคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ และอาจเกิดพิษในกระแสเลือด มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และความปัสสาวะคั่ง
นางสาวจีรวรรณ เต็มเปียง
รหัสนักศึกษา602701010