Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต,…
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายหรือ palliative careในหอผู้ป่วยวิกฤต
การดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
อาการไม่สุขสบายมากกว่าหอผู้ป่วยอื่น
การสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่น
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professional culture
คุ้นชินกับการรักษาผู้ป่วยให้มี
ชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤต
กังวลจากหน้าที่การงานได้ง่าย
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
ขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพ
คาดหวังสูงที่จะดีขึ้นจากภาวการณ์เจ็บป่วยที่รุนแรง
ความไม่แน่นอนของอาการ
เข้าใจว่าแย่ลงได้ก็ดีขึ้นได้ ไม่จิงเสมอไป
Multidisciplinary team
แพทย์หลากหลายสาขา อาจไม่มองผู้ป่วยแบบองค์รวม
มีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
มักมุ่งการหายของโรคมากกว่าความสุขสบาย
ทรัพยากรมีจำกัด
อุปกรณ์หรือเครื่องมือต่าง ๆ
ใช้กับ
ผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษาให้อาการดีขึ้น
ค่าใช้จ่ายสูงมาก
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
พลุกพล่าน วุ่นวาย
เสียงสัญญาณเตือนดังเกือบตลอดเวลา
หลักการดูแลผ้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
ประเมินความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
การสื่อสาร
จัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
หลักการดูแลผู้ป่วยแบบ palliative care ในหอผู้ป่วยวิกฤต “ABCD”
Attitude
ทัศนคติของทีมสุขภาพ
ไม่ใช้ประสบการณ์หรือทัศนคติของตนเองตัดสิน
Behavior
ปฏิบัติอย่างให้เกียรติ ทั้งวัจนะ และ
อวัจนะภาษา
สบตา หลีกเลี่ยงศัพท์ทางการแพทย
ไม่
แสดงทีท่ารีบร้อน
Compassion
ปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้ป่วยและญาติไม่ทุกข์ทรมาน
Dialogue
เนื้อหาของบทสนทนาควรมุ่งเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วย
มิใช่ตัวโรค
กระตุ้นให้ผู้ป่วยและญาติได้มีโอกาสสะท้อนความรู้สึก
ปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น ๆ มาร่วมดูแลในผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
ข้อบ่งชี้ในการปรึกษา
ICU admission after hospital stay at least 10 days
Status post cardiac arrest
Terminal dementia
ข้อดี
ชำนาญมีความรู้
ลดอัตราการครองเตียง
ลดการรักษาที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน
ลดการเกิด “ICU strain”
แบบผสมผสาน
แพทย์เวชบำบัดวิกฤต
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
การสื่อสาร
มีแผ่นพับแนะนำครอบครัวถึงการเตรียมตัว
ปิดดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจ
เน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
มีความเห็นใจครอบครัว
ปล่อยให้มีช่วงเงียบเพื่อทบทวน
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด
แบ่งเนื้อหาที่พูดตามเวลาเข้าไอซียู
2.การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การใส่ใจประเมินอาการ
3.การวางแผนหรือการตั้งเปtาหมายการรักษา
มีการบันทึกไว้เพื่อเป็นหลักฐานทางการแพทย์
วัน เวลา สถานที่
ผู้ป่วยเข้าร่วมในการประชุมหรือไม่
สมาชิกที่เข้าร่วมประชุม
บุคคลใดคือผู้แทนสุขภาพ
เป้าหมายการรักษา
การวางแผนการรักษา
4.การดูแลผูhปjวยที่กำลังจะเสียชีวิต
การเตรียมตัวผู้ป่วย
ปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่าง ๆ
ยุติการเจาะเลือด
ปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ทำความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกาย
ยุติการรักษาที่ไม่จำเปrน
นำสายต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นออก
คงไว้เพียงการรักษาที่มุ่งเน้น
คุมอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
ยาที่มักจำเป็นต้องได้ เช่น มอร์ฟิน
แพทย์ควรทำการเข้าเยี่ยมบ่อย ๆ
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง
การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง
มีผลกระทบต่อความรู้สึก การดำเนินชีวิต
ผู้แจ้งข่าวร้าย
ต้องได้รับการฝึกฝนและมีประสบการณ
มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เป็นหน้าที่สำคัญของแพทย์
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะปฏิเสธ (Denial)
รู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับ
ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง
ขอย้ายสถานที่รักษา
ระยะโกรธ (Anger)
รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
ระยะต่อรอง (Bargaining)
ต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้าง
หรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธ์
ระยะซึมเศร้า (Depression)
รับรู้ว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได
ซึมเศร้า
5.ระยะยอมรับ (Acceptance)
อาจไม่ตรงไปตรงมา
ให้ความร่วมมือและวางแผนร่วมกับทีมดูแล
บทบาทพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบ
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิต
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาต
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้อง
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจ
นางสาวจิราภา โอภาสอำนวย 6001210828