Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 - Coggle Diagram
บทที่ 8
8.2 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย หรือ palliative care ตามคํานิยาม WHO คือ “วิธีการดูแลที่มุ้งเน้น เป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิต
palliative care ไม่ใช่การเร่งการตาย ไม่ยื้อความตาย ไม่ใช้การุณฆาต แต่เป็นการยอมรับ สภาวะที่เกิดขึ้น และยอมให้ผู้ป่วยเสียชีวิตตามธรรมชาติ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับ การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายหรือ palliative careในหอผู้ป่วยวิกฤต
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professionalculture
มุ่งให้มี ชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤตดังนั้นจึงมี แนวโน้มที่ทีมสุขภาพจะพยายามทําทุกวิถีทางเพื่อให้ผู้ป่วยรอดชีวิต
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
ผู้ป่วยวิกฤติมักขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภาวะสุขภาพที่ทรุดลง อย่างเฉียบพลัน ส่งผลให้มีความคาดหวังสูงที่จะดีขึ้นจากภาวการณ์เจ็บป่วยที่รุนแรง
ความไม่แน่นอนของอาการ
ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะดีขึ้นแล้วกลับไปทรุดลงได้หลายครั้ง อาจส่งผลให้ผู้ป่วย ครอบครัว และทีมสุขภาพ
Multidisciplinaryteam
-มีทีมแพทย์ที่ดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า1สาขา
-แต่ละสาขา มุ่งเน้นในการรักษาอวัยวะที่ตนรับผิดชอบ ทําให้ไม่ได้มองผู้ป่วยแบบองค์รวม ถ้าไม่มี ดูแล ผู้ป่วยเป็นองค์รวม
-ถ้าไม่มีแพทย์ท่านใดดูแล ผู้ป่วยเป็นองค์รวม มีความเป็นไปได้สูงที่ผู้ป่วยจะไม่ได้รับการดูแลแบบ palliative care
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
มุ่งประเด็นไปที่การหายของโรคมากกว่าความสุขสบายของผู้ป่วย
ทรัพยากรมีจํากัด
อุปกรณ์หรือเครื่องมือต่าง ๆ มีจํากัด การใช้จึงควรพิจารณาใช้กับ ผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษาให้อาการดีขึ้นได้ไม่ใช้ใช้กับผู้ป่วยวิกฤติทุกราย
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
หอผู้ป่วยที่มีอัตราการตายสูง แต่สิ่งแวดล้อมในไอซียูส่วนใหญรมักจะพลุกพล่าน วุ่นวาย มี เสียงสัญญาณเตือนดังเกือบตลอดเวลา
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
ทีมสุขภาพที่ทํางานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
palliative care ในหอผู้ป่วยวิกฤตสําหรับทีมสุขภาพ คือ “ABCD”
Attitude การดูแล ผู้ป่วยแบบ palliative care นี้ต้องระวังการนําประสบการณ์หรือทัศนคติของทีมผู้ดูแลมาใช้กับผู้ป่วยและญาติ
Behavior
การปฏิบัติต่อผู้ป่วยและญาติ ควรปฏิบัติอย่างให้เกียรติ
Compassion
มีความปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้ป่วยและญาติไม่ทุกข์ทรมาน
พบว่าการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนั้นกระทบผู้ป่วยและญาติอย่างไรบ้าง
Dialogue
เนื้อหาของบทสนทนาควรมุ่งเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วย มิใช่ตัวโรค พยายาม หาให้พบว่าสิ่งที่สําคัญของผู้ป่วยจริง ๆ คืออะไร
กระตุ้นให้ผู้ป่วยและญาติได้มีโอกาสสะท้อนความรู้สึกต่าง
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
การสื่อสาร มีความสำคัญเป็นอย่างมาก การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสามารถลดความไม่ สุขสบายใจ ลดการเกิดความไม่พอใจของครอบครัวและยังสามารถเพิ่มความเพิ่งพอใจในการให้บริการ
หลักการในการสื่อสารในไอซียู คือ
ควรมีแผ่นพับแนะนําครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนทําการประชุมครอบครัว เพื่อให้ครอบครัว ได้เข้าใจถึงวัตถุประสงค&และมีการเตรียมตัวมาก่อนล้วงหน้า
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว สถานที่ควรเป็นห้องที่เป็นส่วนตัว ไม่มีการ
รบกวน
หลีกเลี่ยงคําศัพท์แพทย์
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
มีความเห็นใจครอบครัวที่ต้องประเชิญเหตุการณ์นี้
บทสนทนาควรเน้นท่ีตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค เปิดโอกาสให้ครอบครัวเล่ารายละเอียดความ
เป็นตัวตนของผู้ป่วยให้ได้มากที่สุด
ปล่อยให้มีช่วงเงียบ เพื่อให้ญาติได้ทบทวน รวมถึงฟังอย่างตั้งใจทุกครั้งที่ครอบครัวพูด จากการศึกษาพบว่าการสนทนาที่แพทย์เป็นฝ่ายฟัง
บอกการพยากรณ&โรคที่ตรงจริงที่สุด ถ้าเป็นการแจ้งข่าวร้าย อาจจะใช้SPIKES protocol บางครั้งแพทย์กังวลว่าการบอกความจริงจะเป็นการทําลายความหวังของญาติ
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆหัวใจหลักของการดูแลแบบ palliative care คือ การใส่ใจประเมินแนวทางแก่ทีมสุขภาพในการประชุมครอบครัว
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
การประชุมครอบครัว (Family meeting) เปrนกิจกรรมที่มีเป่าหมายสําคัญเพื่อสร้างความเข้า ใจที่ดี ระหว่างทีมสุขภาพกับผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับโรคและระยะของโรครวมไปถึงการดําเนินโรคและการ พยากรณ์โรค
การวางแผนหรือตั้งเป่าหมายในการรักษานั้นเป็นเรื่องที่แพทย์และทีมสุขภาพ มีบทบาทอย่างมาก เป็นบุคคลสําคัญที่จะช่วยทําขั้นตอนนี้ให้สําเร็จโดยหัวใจสําคัญของการวางแผนการรักษาคือทักษะการสื่อสาร
การเลือกวิธีการรักษาต้องคํานึงถึงเสมอคือ รักษาผู้ป่วย มิใช่รักษาโรค หรือรักษาผลเลือด และ ทุก ๆการตัดสินใจควรมุ่งเน้นที่ประโยชน์ที่ตัวผู้ป่วยจริง ๆ
ข้อควรระวัง อย่างยิ่งในการพูดคุยเก่ียวกับการพยากรณ์โรคของผู้ป่วยคือ การพยากรณ์โรคแบบไม่มี
อคติ (bias) เพราะจากข้อมูลพบว่าแพทย์ส่วนมาก มักให้การพยากรณ์โรคที่ดีกว่าจริงกับครอบครัว (optimistic bias) เพราะกลัวครอบครัวจะส้ินหวัง
การดูแลผู้ป่วยท่ีกําลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
การเตรียมตัวผู้ป่วย ได้แก่
ทําการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่างๆไม่ว่าจะเป็นเครื่องติดตามการเต้นหัวใจเครื่องวัด ออกซิเจนปลายนิ้ว
ยุติการเจาะเลือด
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ทําความสะอาดใบหน้าช่องปากและร่างกายผู้ป่วย
ยุติการรักษาท่ีไม่จําเป็นเช่นสารอาหารทางหลอดเลือดน้ําเกลือยาฆ่าเชื้อต่างๆ
นําสายต่างๆท่ีไม่จําเปrนออกเช่นสายให้อาหารทางจมูก
ให้คงไว้เพียงการรักษาท่ีมุ่งเน้น
ให้คุมอาการไม่สุขสบายต่างๆ
การดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตนี้เป็นเรื่องละเอียดอ่อนมาก ภาพการจากไปของผู้ป่วยในเวลาน้ีจะเป็นภาพที่ครอบครัวจะจดจําตลอดไป ดังนั้น การดูแลให้ทุกอย่างราบรื่นที่สุด จึงเป็นส่ิงสําคัญ
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
ทีมสุขภาพอาจทําการแสดงความเสียใจต่อการสูญเสีย เปrนปกติที่ ครอบครัวจะเสียใจกับการจากไปของผู้ป่วย ดังน้ันไม่ควรพูดคําบางคํา เช่น “ไม่เป็นไร” “ไม่ต้องร้องไห้”
การสื่อสารที่ดี และดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิด สามารถช่วยลดการเกิดความเครียดจากการ สูญเสียคนรักได้ (post-traumatic stress disorder)
8.1 การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ผู้แจ้งข่าวร้าย
แพทย์เจ้าของไข้ ทีมรักษาผู้ป่วย ทีมpalliiative care
มีผลกระทบต่อผู้ป่วยและญาต
กระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างผู้รักษากับผู้ป่วย
ผู้ป่วยเป็น โรคทางจิต เป็นเด็ก และผู้ป่วยที่มีแนวโน้มจะทาร้ายตนเองหากได้รับข่าวร้าย
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
แบ่งเป็น 5 ระยะ
ระยะปฏิเสธ (Denial)
จะรู้สึกตกใจ ช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ ไม่เชื่อ ไม่ ยอมรับความจริง ไม่เชื่อผลการรักษา และอาจขอย้ายสถานที่รักษา อาจพูดในลักษณะ “ไม่จริงใช่ไหม”
ระยะโกรธ (Anger)
ปฏิกิริยาอาจออกมาในลักษณะ อารมณ์ รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
ระยะต่อรอง (Bargaining)
จะต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้าง หรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์
เช่น “อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน”
ระยะซึมเศร้า (Depression)
เริ่มรับรู้ว่าสถานการณ์ที่ เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
เช่น ออกห่างจากสังคมรอบข้าง มีการบกพร่องในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และหน้าที่การงาน
5.ระยะยอมรับ (Acceptance)
-เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
-มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น ปรับตัว และเรียนรู้เพื่อให้ดาเนินชีวิตต่อไปได้
พยาบาลมีบทบาท
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ให้ความหวังที่เป็นจริง สะท้อนคิดเกี่ยวกับการอยู่กับปัจจุบันและทา ปัจจุบันให้ดีที่สุด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสม (ก้าวร้าว ด่าว่า เอะอะโวยวาย) เนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วย รุนแรงได้
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
หวาดกลัวต่อสิ่งต่างๆเนื่องจากขาดสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ