Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
วัฒนธรรม (Culture)
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
สิ่งที่แสดงถึงความเจริญงอกงามของสังคมทั้งทางด้านจิตใจและวัตถุ
ความเป็นระเบียเรียบร้อย
ศีลธรรม
วัฒนธรรมในการแต่งกาย
ความเจริญงอกงามที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสังคมและมนุษย์กับธรรมชาติ
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านวัตถุ
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ (Material)
วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
ภาพเขียนสิ่งก่อสร้างต่างๆ
การสร้างสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายต่างๆ
ภาษา
การสื่อความหมายต่างๆ
องค์การหรือสมาคม (Organization)
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การ
มีโครงสร้างซึ่งสามารถมองเห็นได้
มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage)
วัฒนธรรมในส่วนของพิธีหรือพิธีการต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นนับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
พิธีรับขวัญเด็ก
พิธีโกนจุกหรือพิธีบวชนาค
เป็นขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งพิธีการต่างๆ ที่สังคมกำหนดขึ้น
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ต่างๆ
ได้รับมาจากคำสอนทางศาสนา
ความเชื่อในเรื่องบาปบุญ
ได้รับมาจากคำสอนทางศาสนา
ความเชื่อในเรื่องบาปบุญ
ความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม
การมีอุดมการณ์ทางการเมือง
ทางสังคมวิทยาได้จำแนกวัฒนธรรมออกเป็น 2ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
ศิลปกรรมของมนุษย์
ตึกรามบ้านช่องและถนหนทาง
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
ความคิด
ความเชื่อ
ภาษา
ศีลธรรม
กฎหมาย
ความสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ความหมาย
การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ
ถ่ายทอดสืบต่อกันมาจนตกผลึกเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรมของสังคมนั้น
ความเชื่อสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามวิวัฒนาการและพัฒนาการของสังคม
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
เชื่อว่าพระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
น้ำทะเลมีรสเค็ม
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล มี 2 ลักษณะ
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อแบบประเพณ
ภาคเหนือเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับผีและอำนาจเหนือธรรมชาติเกี่ยวกับป่า
ภูเขาและลำน้ำ
ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระธาตุและผีวีรบุรุษ
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ความเชื่อที่มีต่อหลักคำสอนในพระพุทธศาสนาเรื่องการมีสต
ความเชื่อเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร 5 หมุ่
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้
การเรียนรู้
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การขัดเกลาทางสังคม
การควบคุมทางสังคม
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ปัจจัยทางด้านบุคคล
ศาสนา
การศึกษา
อาชีพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทำของผ
ความเจ็บป่วยเกิดจากเวทมนต์และคุณไสย
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเคราะห์หรือโชคชะตา
ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการบริโภคอาหารแสลงโรค
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
การเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค
ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากสิ่งแวดล้อมหรือ
อุบัติเหตุ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
คนโบราณเชื่อว่าการตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของ
มนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกำเนิดขึ้นภายใน
มดลูก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
ภาวะหมดประจำเดือนในเพศหญิง
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน
การใช้สมุนไพร
การดูแลอาหาร
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
กำหนดอายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์เข้าสู่วัย
ชรา
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก
การดูแลด้านโภชนาการ
ดูแลด้านฮอร์โมน
การดูแลด้านการออกกำลังกาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
มีความเชื่อในเรื่องวิญญาณ
กฎแห่งกรรม
การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ให้สร้างสมความดีและผลบุญเพื่อการตายอย่างสงบ
เกิดความสุขความเจริญในภพหน้า
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
จะพิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทำงานของแกนสมอง
การดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ สามารถทำงานต่อไปได้และยืดชีวิตผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สุด
ภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
ค่านิยมทางสังคม
ความหมาย
ความคิด ความเชื่อ ความนิยมรวมทั้งพฤติกรรมและแบบแผนในการปฏิบัติ
เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติ และพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งค่านิยมจะนำไปสู่การเกิดพฤติกรรม
เป็นสิ่งที่มีในตัวของบุคคลแต่ละคนและมีอิทธิพลต่อสิ่งที่คิดและสิ่งที่ทำ
ปัจจัยทางสังคมมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
ครอบครัว
เป็นสถาบันสังคมอันดับแรกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างค่านิยมให้แก่บุคคล
ครอบครัวเป็นหน่วยแรกที่อบรมสั่งสอนพฤติกรรมสังคมให้แก่คนตั้งแต่เกิดจนโต
โรงเรียน
สถาบันทางสังคมที่มีส่วนในการสร้างค่านิยมอันถูกต้องให้แก่เด็กเป็นอย่างมาก
การสั่งสอนเด็กให้เกิด ความคิด ความเชื่อ อันจะนำไปสู่แบบแผนการมีพฤติกรรมที่ดี
สถาบันศาสนา
บุคคลและหน่วยงานของศาสนาต่างๆ
ช่วยในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมอันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
การคบหาสมาคมกับเพื่อนในรุ่นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเพื่อนสนิท
การทำกิจกรรมอื่นๆในสังคมวัยรุ่น ผลที่ได้รับอันหนึ่ง
องค์การของรัฐบาล
รัฐย่อมมีส่วนในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมให้แก่สังคมตามปกติ
รัฐมีบทบาทสาคัดในการปลูกฝังค่านิยมให้แก่คนในสังคม
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ความหมาย
ความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพที่เชื่อมโยงตั้งแต่การดูแล
สุขภาพตัวเอง
การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
การดูแลสุขภาพที่อาศัยความรู้วิทยาการหรือเทคโนโลยีทาง
การแพทย์สมัยใหม่
ครอบคลุมการดูแบสุขภาพทั้ง 4 มิติ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
ความหมาย
แบบแผนทางวัฒนธรรมของสังคมที่มีกำหนดขึ้น
เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของคนในสังคม
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้คนในสังคมมีสุขภาพดี แข็งแรงสมบูรณ์
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
รกินอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้มและอาหารจาก
ธรรมชาติ
การออกกำลังกาย การเข้าวัด ถือศีล ทำสมาธิ ทำบุญตักบาตร
งดบริโภคสุราและสิ่งเสพติด
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก
การคว่ำกะลาหรือใส่ทรายอะเบท
เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยุงลาย
การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
ความหมาย
การรับรู้ของบุคคลที่มีต่อความผิดปกติของ
ร่างกาย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน
แบบพื้นบ้าน
แบบวิชาชีพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
การดูแลการพักฟื้นของผู้ป่วยจากคนในครอบครัว
การงดบริโภคอาหารแสลง
การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural awareness)
กระบวนการรู้คิดของ บุคลากรสุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสําคัญของ การให้คุณค่า ความเชื่อ วิถีชีวิต พฤติกรรม
วิธีการแก้ปัญหาของผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม
หากบุคลากรสุขภาพ (พยาบาล) ยังไม่เข้าใจ ลึกซึ้งในวัฒนธรรมตนเอง ก็มีโอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมการบริการ ที่ไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม ได้
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural skill)
ความสามารถของบุคลากรสุขภาพในการเก็บ
ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
การมีความไวทางวัฒนธรรม (cultural sensitivity)
การเรียนรู้วิธีประเมินความต่างทางวัฒนธรรม (cultural assessment) และการประเมินสุขภาพ
Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural knowledge)
การแสวงหาความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ (world view)
พื่อให้สามารถเข้าใจโลก ทัศน์ของผู้รับบริการผ่านมุมมองของผู้รับบริการเอง (emic view)
Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม (cultural encounter)
การที่ บุคลากรสุขภาพมีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสมสําหรับผู้รับบริการ
ผู้รับบริการที่มีภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน มีการสื่อสารทั้งทาง วัจนภาษา และอวัจนภาษา อย่างถูกต้องเหมาะสม
การหาประสบการณ์โดยการเข้าไปอยู่ร่วม ในสังคมต่างวัฒนธรรม
Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (cultural desire)
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
การห้ามหญิงหลังคลอดบริโภคน้ำดิบ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแฝด
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นสาเหตุโรคพยาธิ
โรคอุจจาระร่วง
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพของประชาชน
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (Professional health sector)
เป็นส่วนของการปฏิบัติการรักษาพยาบาลทางการแพทย์
มีการจัดองค์กรที่เป็นทางการ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care)
เป็นการปฏิบัติการรักษาที่มิใช่รูปแบบของวิชาชีพ ไม่มีการจัดองค์กร
ใช้อำนาจเหนือธรรมชาติ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)
เป็นส่วนของการดูแลสุขภาพภาคประชาชนซึ่งถูกปลูกฝังถ่ายทอดกันมาตามวัฒนธรรม
ความเชื่อที่เกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่วย