Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การสงเสริมสุขภาพอนามัย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อาชีพ
ให้ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
ใส่ใจต่อการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้อย่างดี
ถิ่นที่อยู่
การดำเนินชีวิตภายใต้ถิ่นที่อยู่ต่างกัน
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมีความต่างกัน
เศรษฐกิจ
บุคคลที่มีฐานะดี
เลือกผลิตภัณฑ์บำรุงที่ดี
ให้เวลาดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
เศรษฐกิจไม่พอเพียง
ผู้ป่วยอาจต้องทำงานเพื่อหารายได้เป็นอย่างดี
ภาวะเจ็บป่วย
ส่งผลให้การดูแลอนามัยส่วนบุคคลลดลงภาวะการเจ็บป่วย
ภาวะการเจ็บป่วยทางจิต มีอาการซึมเศร้าไม่สนใจดูแลตนเอง
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษามีความรู้ในการดูแลรักษา ความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ความรู้เพีนงอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ ผู้ป่วยต้องมีแรงจูงใจที่จะดูแลตนเอง
เรียนรู้เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลให้ดีขึ้น
สิ่งแวดล้อม
อากาศร้อนต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
รักษาสุขอนามัยตามสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในแต่ละครั้ง
ภาวะสุขภาพ
มีการเจ็บป่วยทางสุขภาพจิต ทำให้ขาดความสนใจ
ละเลยการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
มีการเจ็บป่วยที่รุนแรง เรื้อรัง เจ็บปวด
อาจมีปัญหาสุขภาพร่างกายอ่อนเพลีย
ระบบประสาทกล้ามเนื้อทำงานได้ไม่ดี
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
เป็นผลต่อการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขอนามัยส่วนบุคคล
ตัวอย่าง
ห้ามสระผมขณะมีไข้ เพราะจะทำให้เจ็บป่วยมากขึ้น
หลังคลอดบุตรห้ามตัดผม ห้ามสระผม เป็นประเพณีที่สืบต่อกันมา
เพศ
ความแตกต่างของเพศต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคลลที่ต่างกัน
เพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอ และไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชาย
ความชอบ
เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับฝึกอบรมด้านการดูแล
โรงเรียน
ครอบครัว
คววามชอบแต่ละคนไม่เหมือนกัน
อายุ
มีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
อายุเป็นตัวกำหนดกายวิภาคและสรีระของร่างกายแต่ละคน
เด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขอนามัยได้ด้วยตัวเอง
ผู้สูงอายุดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลงต้องให้การดูแลแบบพึ่งพา
ความหมายและความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัย
ช่วยส่งเสริมใหเผู้ป่วยมีความสุขกายสุขใจ
พยาบาลใช้บทบาทอิสระในการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลของผู้ป่วยได้มีประสิทธิภาพ
เป็นสิ่งที่ต้องตระหนักถึงความสุขสบายทั้งทางร่างกายและจิตใจ
กระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการพยาบาล
การดูแลสุขอนามัยเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
จำเป็นต้องรู้และเข้าใจถึงหลักการและเทคนิคปฏิบัติการพยาบาล
การส่งเสริมสุขอนามัยเพื่อสร้างความมั่นใจในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ช่วยขจัดสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
การทำความสะอาดร่างกายเป็นพฤติกรรมขั้นพื้นฐานที่ต้องเอาใจใส่ทุกๆวัน
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
การดแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลทำความสะอาดของหู
บริเวณหลังใบหูหลังสระผมมักจะมีน้ำเปียกในช่องหู
ใช้ผ้าขนหนูนุ่มเช็ดให้แห้ง
การเช็ดทำความสะอาดช่องหูหลังอาบน้ำควรใช้ไม้พันสำลีดี
เช็ดทำความสะอาดในช่องหูทั้ง 2 ข้าง
คนทั่วไปดูแลหูเฉพาะด้านนอกให้สะอาดปราศจากที่ไคล
การดูแลไม่ถูกสุขลักษณะอาจทำให้เกิดน้ำหูหนวก
ผู้ที่ใส่เครื่องช่วยฟังต้องทำความสะอาดส่วนประกอบของเครื่องช่วยฟัง การเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ การปรับเสียงต้องระมัดระวัง
นอกจากทำให้เสียบุคลิกภาพที่ดีแล้วส่งผลให้เกิดการติดเชื้อในสมองได้
สำหรับผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยฟังต้องดูแลเป็นพิเศษ
เครื่องใช้
สำลีสำลีสะอาดหรือไม้พันสำลี 4 อัน
ผ้าสะอาด
0.9% NSS หรือน้ำสะอาด
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
การส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลช่วยให้ผู้ป่วยมีสุขภาพดีขึ้น
ถ้าไม่มีการทำความสะอาดจมูก
เมื่อหายใจเข้าจะนำสิ่งสกปรกและเชื้อโรคเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
ส่งผลเกิดให้เกิดการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
อาจเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค
โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่คาสายไว้
สายยางให้อาหาร
สายออกซิเจน
เป็นการทำความสะอาดรูจมูกและรักสาสุขภาพของเนื้อเยี่ยจมูก
เครื่องใช้
กระดาษเช็ดปาก
อับสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สำลีชุบเบนซินและสำลีชุบน้ำเกลือใช้ภายนอก
ชามรูปไต
พลาสเตอร์ถุงมือสะอาด และmask
ผ้าก๊อซ
ไม้พันสำลีขนาดเล็ก 4-8 อัน
ถาดใส่แก้วใส่น้ำสะอาดหรือ0.9%NSS
วัตถุประสงค์
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
การดูแลทำความสะอาดของตา
ทำความสะอาดที่มีขี้ตาและการดูแลอนามัยของตาในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ขี้ตาอาจแห้งติดหนังตาหรือขนตา จำเป็นต้องกำจัดออกไปวันละ 2-3 ครั้ง
จุดประสงค์
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
กำจัดขี้ตาทำให้ดวงตาสะอาด
เพื่อแก้ปัญหาอนามัยของตา
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสำลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
การดูแลทำความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
ญาติหรือผู้ดูแลก็สามารถให้การดูแลช่วยเหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข
เมื่อมีอุปกรณ์รถเข็นสระผมผู้ป่วยเคลื่อนที่ช่วยในการ
สระผมผู้ป่วยบนเตียง
วัตถุประสงค์
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
เป็นการดูแลสุขวิทยาส่วนวนบุคคลที่ช่วยส่งเสริมความสุขสบายในขณะนอนป่วย
เครื่องใช้
รถเข็นสระผมเคลื่อนที่ พร้อมถังรองน้ำทิ้ง
ถ้ายางรองสระผม
ถาดใส่ยาสระผม หวี หรือแปลงผม ที่หนีบผ้า ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน สำลี 2 ก้อนแก้วน้ำ และน้ำมันมะกอก(ถ้ามี)
เครื่องเป่าผม
ถุงมือสะอาด และmask
เป็นการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะผู้ป่วยบนเตียง
การดูแลทำความสะอาดของเล็บ
ช่วยเสริมบุคลิกภาพที่ดี
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาดและสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
ทำความสะอาดเล็บและตัดให้เรียบร้อย
เครื่องใช้
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้ำอุ่น
ใส่ถุงมือและ mask
ต้องทำการตัดให้สั้นตามเหมาะสมให้กับการใช้งาน
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์การทำความสะอาดสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย
เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด
หม้อนอน (bed pan) พร้อมผ้าคุมหม้อนอน (bed pen) ผ้ายางพื้นแรก
ผ้าปิดตา
ถาดใส่ของประกอบด้วย
กระดาษชำระ2-3ชิ้น
ภาชนะใส่ขยะหรือกระโถน
ชุดชำระ (P-care set) ประกอบด้วยชามกลม (Bowl) สำลีก้อนใหญ่สำหรับชำระ7ก้อนนะปากคีบ(forceps) 1ตัว
น้ำสบู่หรือสบู่เหลว
น้ำเกลือ (0.9% NSS) ใช้ภายนอกหรือน้ำสะอาด
วิธีปฏิบัติ
ใช้forcepsในsetหยิบสำลีออกจากชามกรมวางบนผ้าห่อ4ก้อนวางforcepaบนผ้าห่ม
เทน้ำสบู่หรือสบู่เหลว บนสำลีในชามกรมพอประมาณ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆมาที่เตียงให้ครบถ้วน วางไว้ที่เหมาะสมหยิบใช้สะดวก เปิด P-care set
ใช้มือข้างซ้ายจับองคชาตแล้วค่อยๆรูดหนังหุ้มปลาย
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน
และชุดชำระไว้ด้านปลายเท้า
เท 0.9% NSS
ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนนอนด้านแบบเข้าใต้สะโพก
และจัดหม้อนอนตรงพอดีกับก้น
เลื่อน bed pan ออก คลุมด้วย bed pad และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายเปิดเฉพาะส่วนอยัยะสืบพันธุ์
เอาผ้าปิดตาออกจ จัดเอาใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอน
ในท่าที่สุขสบาย
ล้างมือให้สะอาดสวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ป่วย
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตูหรือการม่านให้มิดชิด
ลงบันทึกทางการพยาบาล
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
เป็นการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลระดับพื้นฐาน
ทำให้ผู้ป่วยสุขสบายมีคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข
การทำความสะอาดสืบพันธุ์การทำความสะอาดสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง
เครื่องใช้
เหมือนกับการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกชาย
วิธีปฏิบัติ
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่มตามแนวขวาง เลื่อนผ้านุ่งขึ้นไปถึงเอว ให้ผู้ป่วยนอนหงายชันเข่าขึ้น เหน็บห่มคุมขาให้เรียบร้อย
ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้สะโพก
และจัดหม้อนอนพอดีตรงก้น
ล้างมือให้สะอาดสวมถุงมือและmaskและใช้ผ้าปิดตาผู้ป่วย
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน
และชุดชำระไว้ด้านปลายเท้า
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆมาที่เตียงให้ครบถ้วน ว่างไว้ในที่เหมาะสมหยิบใช้สะดวก เปิด P-care ste
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ใช้ forceps ใน set หยิบสำลี 4 ก้อนออกจากชามกลมสำลีวางบนผ้าห่มของแล้ววาง forceps บนผ้าห่อของด้วย
เทน้ำสบู่น้ำสบู่หรือสบู่เหลวบนสำลีในชามกลมพอประมาณ
ใช้หัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือข้างซ้ายแหวก labia ออก และใช้มือข้าง
ขวาอีกข้างหยิบ forceps คียสำลีในชาม
เท 0.9% NSS
เลื่อน bed pan ออก คลุมด้วย bed pad ปิดและเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
ให้ผู้ป่วยวางขาลง เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอนในท่านอนงายราบ
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตูหรือกั้นม่านให้มิดชิด
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
จุดประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนเป๋าสวคาไว้
เสริมสร้างความสุขสบายให้กับผู้ป่วย
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
ดูแลทำความสะอาดปากและฟัน
กรณีที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้น้อย พยาบาลต้องให้การช่วยเหลือทำความสะอาดปากและฟันให้ผู้ป่วยปลอดภัย
การทำความสะอาดปากและฟันใช้การประเมินสภาพผู้ป่วยก่อน
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้เป็นฟันด้วยตัวเอง
เป็นการทำความสะอาดพื้นฐานทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น
ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา
เมื่อสุขภาพของฟันแข็งแรงการเคี้ยวอาหารรับรู้ถึงความอร่อยทำให้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์
เพื่อกำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
เพื่อลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
เพื่อปากแล้วปากและฟันสะอาดมีความชุ่มชื่น
เพื่อสังเกตฟันเหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ
หรือออก หรือฝ้าในช่องปาก
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหาร และน้ำทางปากได้ต้องทำความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปากฟันให้เป็นพิเศษ
สำลีที่เช็ดทำความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อยๆ
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน และเศษอาหารในเวลาเช้า หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
เครื่องใช้
ไม้พันสำลี
ชามรูปไต
แก้วน้ำ
ไม้กดลิ้น หรือไม้กดลิ้นพันสำลี
น้ำยาบ้วนปาก เช่น น้ำเกลือ น้ำยาบ้วนปาก
3% hydrogen peroxide
ลูกสูบยางแดง
สารหล่อลื่นทาริมฝีปาก เช่น วาสสลินทาปาก เป็นต้น
syringe 10 cc
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัย
ทางการพยาบาล ซึ่งขึ้นอยู่กับปัญหาความต้องการของผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย
การนวดหลัง
การทำความสะอาดปากและฟัน
การอาบน้ำ
เส้นผมและหนังศีรษะ
อวัยวะสืบพันธุ์
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยง่ายกับการเป็นโรค...
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องเนื่องจากเป็นอัมพาต…
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียด…
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกายเนื่องจาก…
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศีรษะ ตา หู จมูก
ประเมินระดับความสามารถในการดูแลตนเอง
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติที่อาจ
เกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การดูแลทำความสะอาดของผิวหนัง ความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ (Bathing)
ชนิดของการอาบน้ำ แบ่งตามสภาวะของผู้ป่วย
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
เสริมความมั่นใจให้มีบุคลิกภาพที่น่าประทับใจทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
ช่วยกระตุ้นระบบการไหลเวียนเลือด ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย
เป็นการขจัดของเสียที่ร่างกายขับออกมา
จุดประสงค์
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกาย
และส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่างๆ
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
กำจัดสิ่งสกปรกสะสมอยู่บนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
เครื่องใช้
ผ้าห่ม 1 ผืน ผ้าเช็ดตัว 1 ผืน
ครีมหรือโลชั่นทาตัวหรือแป้ง
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
การพยาบาลตอนก่อนนอน
การพยาบาลตอนเช้า
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
ดูแลความต้องการขั้นพื้นฐานของผู้ป่วย
ในเรื่องความสะอาดของร่างกายความสุขสบาย
หากผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้พยาบาลจะให้ความช่วยเหลือ
อำนวยความสะดวก
กระทำได้ทันทีโดยไม่ต้องมีคำสั่งของแพทย์
ดูแลความปลอดภัยขณะอาบน้ำหรือการเข้าห้องน้ำห้องสุขา
หรือเตรียมจัดหาอุปกรณ์มาให้ผู้ป่วยที่เตี้ยม
กรณีที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย
ควรช่วยดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลให้ครบถ้วน
ตอบสนองความสุขสบายของผู้ป่วย
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การประเมินคุณภาพการนอนหลับ และการนอนหลับผิดปกติ
Hypersomnia
การหลับที่เกิดขึ้นนั้นไม่สามารถฝืนได้
เป็นเรื่องผิดปกติต้องการการตรวจพิเศษเพื่อหาสาเหตุ
เป็นการนอนหลับมากหรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
Parsomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลับมาตื่นหรืออยากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีอาการกรอกตา
ความผิดปกติจากการตื่น
กลุ่มอื่นๆ
การนอนกัดฟัน
การปัสสาวะที่นอนขณะหลับ
การไหลตาย
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราวแต่มีเวลานานกว่า
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคทางจิตเวช
โรคของการนอนหลับโดยตรง
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
อาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อม
มาจากปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาตึงเครียดในชีวิต
ผลที่เกิดจากการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้าและขาดสมาธิ
ผลจากการนอนหลับไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
แสงสว่างไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้าจนเกินไป
แสงสว่างที่ดีที่สุดควรเป็นแสงธรรมชาติ
ความเป็นส่วนตัวและมิดชิดอย่างปลอดภัย
กลิ่นแบ่งออกเป็น
กลิ่นหอม เป็นกลิ่นที่เหมาะสำหรับการสร้างความสุข
คือกลิ่นสะอาดและสดชื่น
กลิ่นเหม็น กลิ่นที่ส่งออกจากสิ่งขับถ่ายภายในร่างกายของคน
ความอบอุ่นและความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
เสียงแหล่งกำเนิดเสียงจากภายนอกห้อง หรือเกิดจากผู้ให้บริการ
หรือญาติที่มาเยี่ยมไข้
อุณหภูมิมีอากาศดี มีแสงสว่างส่องเพียงพอ
ความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม และน่าอยู่
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้ และเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Prone position
เป็นท่านอนคว่ำเป็นถ้านอนที่สบายสุด
ท่านี้ช่วยให้น้ำลาย เสมหะไหลออก และลิ้นผู้ป่วยห้อยลงจึงไม่ปิดกั้นทางเดินหายใจ
Lateral positon
เป็นท่านอนตะแคงจัดเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย
ช่วยป้องกันการเกิดแผลกดทับด้านหลัง
Fowler’s position
เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
ท่านี้ลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง
สะดวกสำหรับให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมบนเตียง
Sitting position
เป็นท่านั่งที่สุขสบายสำหรับผู้ป่วยได้เปลี่ยนถ้าอริยาบท
พักผ่อนได้อย่างมีความสุขเพื่อความปลอดภัยและความสุขสบายควรมีที่เท้าแขน
Dorsal position
เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป
เป็นท่านที่จัดขึ้นเพื่อความสุขสบาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ความไม่สุขสบาย
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
ความเจ็บปวด
อาการคลื่นไส้ อาเจียนมักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่วร่างกาย
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความวิตกกังวล
ส่งผลให้ร่างกายหลั่งสาร corticosteroidและ adernaline
ส่งผลให้เกิดภาวะเครียดเกิดความขัดแย้งในใจเมื่อมีความวิตกกังวล
เกิดจากสิ่งที่คุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกายและจิตใจ
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
ผู้สูงอายุการนอนหลับจะลดลงปริมาณและคุณภาพ
เพศ
เพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการนอนหลับ
เร็วกว่าปกติเพศหญิง10-20ปี
ปัจจัยภายนอก
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
แสง
อาหาร
อุณหภูมิ
ยา
เสียง
การทำเตียง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
เป็นผู้ป่วยที่แข็งแรงช่วยเหลือตนเองได้
สามารถนั่งได้สามารถนั่งได้เป็นเวลานาน
ไม่จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อยสวยงาม
เป็นการทำเตียงให้สามารถลุกจากเตียงได้
เครื่องใช้
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
เครื่องผ้า เหมือนการทำเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติกและmask
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
ป่วยไม่รู้สึกตัว ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ต้องพึ่งผู้อื่นในการทำกิจกรรม
ผู้ป่วยจำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เป็นการทำเตียงให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถลุกจากเตียงได้
เครื่องใช้
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
เครื่องผ้า เหมือนการทำเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติกและmask
การทำเตียงว่าง
ทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลงดึงช่วยเหลือตนเองได้
จุดประสงค์
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดสิ้นทุกข์สบาย ให้หอผู้ป่วยเป็นระเบียบ สวยงามน่าอยู่พักอาศัย
จัดเตรียมความพร้อม เตรียมรับผู้ป่วยใหม่
การทำเตียงที่ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วย เตรียมรับผู้ป่วยใหม่
เครื่องใช้
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติกและmask
ถังใส่ผ้าเปื้อน
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
เครื่องซักผ้า โดยเรียงลำดับจากปูเตียงก่อนหลัง
ผ้าคลุมเตียง
ผ้าห่ม
ปลอกหมอน
ผ้าขวาเตียง
ผ้าปูที่นอน
ผ้ายางขวางเตียง (ถ้าจำเป็น)
การทำเตียงรับป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
จุดประสงค์
เตรียมรับผู้ป่วยหลังจากไปรับการผ่าตัดหรือการตรวจพิเศษ
การเตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือ เมื่อผู้ป่วยสำลัก หรือลิ้น
และเมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะอันตราย
เครื่องใช้
ชามรูปไต และกระดาษเช็ดปาก
เครื่องวัดความดันโลหิตพร้อมหูฟัง
เครื่องผ้าเหมือนกับการทำเตียงว่าง
เครื่องใช้อื่นๆตามความจำเป็น
เป็นการทำเตียงหลังจากส่งทุกป่วยไปรับการผ่าตัด
หรือการตรวจและได้รับยาสลบ
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
ระดับที่ 2 (หลับตื้น)
เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง ไม่มีการฝัน
จะระยะนี้จะถูกปลุกตื่นได้โดยง่าย
เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก
ระดับที่ 3 (หลับปานกลาง)
ความมีสติรู้ตัวจะหายไป
การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง
คลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง
ระดับที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่การนอน
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที
ระยะนี้อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง
เป็นช่วงที่หลับสนิทของการนอน
ช่วงหลับฝัน
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่างๆของร่างกายแทบจะหยุดทำงานกันหมด
แต่ระบบการทำงานของหัวใจกระบังลมเพื่อการหายใจ
กล้ามเนื้อตาและกล้ามเนื้อเรียบ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การปฎิบัติการพยาบาล
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม เพื่อขอความช่วยเหลือ
ไม่ให้ดื่มน้ำหลัง 6 โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นหายเป๋าสวตอนกลางคืน
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วงๆไม่รบกวนการนอนของผู้ป่วย
งดกาแฟ ชา โค้ก ก่อนนอน
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
ให้มีกิจกรรมทำในตอนกลางวัน
ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
สร้างความสัมพันธ์ถ้าภาพให้ผู้ป่วยไว้วางใจและระบายความวิตกกังวล
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียดและการจัดการกับความเครียด
การวางแผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
เกณฑ์การประเมิน
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพผู้ป่วยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การวางแผน
วางแผนให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการ
ของร่างกายและปลอดภัย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากมีความวิตกกังวล
การประเมินผลการพยาบาล
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
การประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
การประเมินภาวะสุขภาพ
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
เป็นพฤติกรรมพื้นฐานเพื่อก่อให้เกิดความสมดุลย์ของร่างกาย
และจิตใจในการดำรงชีวิต
การพักผ่อนที่ดีที่สุดและความสำคัญ
สงวนพลังงานพลังงานที่ใช้ของร่างกาย
และสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับฉันสิ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ซ่อมแซมได้สร้างเนื้อเยี่ยขึ้นใหม่ช่วยส่งเสริมการหายของแผล
รวมถึงมีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน
เพื่อให้อวัยวะได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความเครียด
การพักผ่อนคือการผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การพักการทำงานของอวัยวะต่างๆโดยนั่งเฉยๆ
ชั่วขณะหนึ่งอาจทำกิจกรรมเบาเบานันทนาการ
การพักผ่อนไม่ได้หมายถึงไม่มีกิจกรรมแต่มีวิธีการพักผ่อนแตกต่างกันไป
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
พยาบาลรับฟังสิ่งที่ผู้ป่วยระบายออกมาทั้งเรื่องส่วนตัว
และปัญหาความเจ็บป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงปัญหาที่ติดค้างอยู่ในความรู้สึก
ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
พยาบาลเป็นบุคคลสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลายความเครียด
Absolute bed rest
ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใดใดที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
ห้ามลุกออกจากเตียง การทำกิจกรรมการพยาบาล
พยาบาลจะต้องเป็นผู้จัดกิจกรรมให้
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
ซึ่งพยาบาลจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
และให้ความร่วมมือในการปฎิบัติตามอย่างเคร่งครัด
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
สามารสามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การนอนหลับ
อวัยวะทุกส่วนทำงานลดลง รวมทั้งสภาวะจิตใจ
ระดับการรู้สติลดลง
มีการตอบสนองแปดสี่ไม้และการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง
เป็นกระบวนการทางสรีรวิทยาพื้นฐานที่สอด
ประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่นๆ
ผลกระทบจากการนอนหลับดึก
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด
เกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองจากสิ่งเร้าลดลง
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย
มีอาการหวัดระแวงอยู่แล้วไม่สามารถยับยั้ง
พฤติกรรมความก้าวร้าวตนเองได้
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
การปปฏิบัติกิจกรรมในช่วงเวลากลางวันลดลง ไม่มีสมาธิ
และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบต่อร่างกาย
ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
การทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆล้มเหลว ขาดพลังงานการดำเนินชีวิต
การแปรปรวนการนอนหลับทำให้อุณหภูมิและภูมิต้านทานของร่างกายต่ำกว่าปกติ
ผลกระทบทางสังคม
ความมั่นใจในการทำงานลดลง
มีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง