Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายวัฒนธรรม
ลักษณะพื้นฐานสำคัญ
เป็นความคิดร่วม
สิ่งที่มนุยษ์เรียนรู้
มาจากการใช้สัญลักษณ์
องค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
กระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมาย
เป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ
สิ่งของหรือวัตถุ
เกิดจากความคิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม ตึกรามบ้านช่อง
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
แสดงออกโดยทัศนะ ระเพณี ขนบธรรมเนียม
การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับ
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ
เครื่องมือ
มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
เครื่องมือเครื่องใช้
ภาพเขียน
สิ่งก่อสร้าง
สัญลักษณ์
เครื่องหมายต่างๆ
ภาษาและการสื่อความหมาย
องค์การหรือสมาคม
การจัดระเบียบ
มีโครงสร้างสามารถมองเห็นได้
มีระเบียบแบบแผน กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ
องค์พิธีหรือพิธีการ
มนุษย์สร้างขึ้นตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
การเกิดจนกระทั่งตาย
เป็นขนบประเพณีที่สังคมกำหนดขึ้น
องค์มติหรือมโนทัศน์
วัฒนธรรมด้านความคิด ความเชื่อ
รับมาจากคำสอนทางศาสนา
ความสำคัญของวัฒนธรรม
กำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมสังคม
ให้ความร่วมมือกันได้
เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
เข้ากับคนอื่นในสังคมเดียวกันได้
มีที่สภาวะแตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยม
ความหมาย
บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม
ประเภท
ความเชื่อในสิ่งที่ปรากฎอยู่จริง
ความเชื่อขึ้นพื้นฐานของบุคคล
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้
การเรียนรู้
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การขัดเกลาทางสังคม
การควบคุมทางสังคม
ปัจจัยด้านบุคคล
ศาสนา
อายุ
เพศ
การศึกษา
อาชีพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอํานาจเหนือธรรมชาติ
สาเหตุ
เกิดจากเวทมนต์
เกิดจากการกระทําของผี
วิธีการดูแลสุขภาพ
กลุ่มหมอดู
กลุ่มหมอสะเดาะเคราะห์
กลุ่มหมอธรรม
กลุ่มหมอตํารา
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
สาเหตุ
เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ
เกิดจากการบริโภคอาหารแสลง
วิธีการดูแลสุขภาพ
ทําพิธีตั้งขันข้าว
พิธียอครูหรือบนครู
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อโรค ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม
เกิดจากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติเหตุ
วิธีการดูแลสุขภาพ
วินิจฉัยหาสาเหตุของความเจ็บป่วย
แพทย์หรือหมอที่ได้ผ่านการเรียนทางด้านแพทย์ศาสตร์มาโดยเฉพาะ
ความเชื่อช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
การเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์
ผลจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
การดูแลสุขภาพ เกี่ยวกับสุขภาพจิต การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
ระยะคลอดบุตร
ความเป็นสิริมงคล
ท่าทางในการคลอด
การดูแลสุขภาพ การจัดสถานที่และท่าทางในการคลอด
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเรื่องผี
ความเชื่อเรื่องกรรม
การดูแลสุขภาพ การอยู่ไฟ
การเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อ
ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกําเนิดขึ้นภายในมดลูก
การดูแลสุขภาพ
หลักการดูแลคล้ายคลึงการแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นบ้าน
ความเชื่อ
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
ความแปรปรวนของธาตุลม
การดูแลสุขภาพ
การใช้สมุนไพร
พึ่งพิงศาสนา
แบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อ
อายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์เข้าสู่วัยชรา
การดูแลสุขภาพ
การดูแลด้านโภชนาการ
ออกกําลังกาย
ความเชื่อเกี่ยวกับความตาย
แบบพื้นบ้าน
ความเชื่อ
กฎแห่งกรรม
การดูแลสุขภาพ
สร้างสมความดีและผลบุญ
แบบแพทย์แผนตะวันตก
การหยุดทํางานของหัวใจและการทํางานของแกนสมอง
การดูแลสุขภาพ
มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ สามารถทํางานต่อไปได้
ค่านิยมทางสังคม
อิทธิพลต่อการเรียนรู้
ครอบครัว
อบรมสั่งสอนพฤติกรรมสังคมตั้งแต่เด็กจนโต
โรงเรียน
สร้างค่านิยมอันถูกต้องให้แก่เด็ก
อบรมปลูกฝังค่านิยม
สถาบันศาสนา
ปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมอันถูกต้อง
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
การเรียนรู้และยอมรับค่านิยม
สื่อมวลชน
มีบทบาทสําคัญในการเผยแพร่ความคิด
ค่านิยมในการแต่งกายตามสมัยนิยม ทรงผม
องค์การของรัฐบาล
ปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมให้แก่สังคม
การรักษาและการแสวงหาการ
รักษาของประชาชนภูมิภาคต่างๆ
ปัจจัยสําคัญ
พบปัญหาสุขภาพบางประเภทเกิดกับบุคคลบางอาชีพ
บางวัฒนธรรมหรือบางกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่ากลุ่มอื่นๆ
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย
รักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วย
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
การออกกําลังกาย
งดบริโภคสุราและสิ่งเสพติด
เกี่ยวกับการป้องกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก
การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
ดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
เกี่ยวกับการรักษาโรค
มีความเชื่อมโยงกัน 3 ประเภท
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน
แบบพื้นบ้าน
แบบวิชาชีพ
เกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
การงดบริโภคอาหารแสลง
ออกกําลังกายเสริมสร้างความแข็งแรง
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
Campinha-Bacote (2002) เสนอโมเดลกระบวนการพัฒนาการ
ให้บริการทางสุขภาพ เน้นสมรรถนะทางวัฒนธรรม
แนวคิดหลัก 5 ประการ
หลัก ASKED
A = Awareness
ตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
การตรวจสอบความอคติของตนเอง
เล็งเห็นถึงความสําคัญการให้คุณค่า
เกิดพฤติกรรมการบริการที่ไม่เหมาะสม
S = Skill
มีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม
ความสามารถบุคลากรสุขภาพในการเก็บข้อมูล
เกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
ความไวทางวัฒนธรรม
ประเมินความต่างทางวัฒนธรรม
ประเมินสุขภาพ
สร้างความร่วมมือกับผู้รับบริการ
K = Knowledge
องค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
แสวงหาความรู้พื้นฐานที่ เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์
ศึกษาจากศาสตร์ต่าง ๆ
การบริการข้ามวัฒนธรรม
มานุษยวิทยาการแพทย์
ลักษณะเฉพาะ
ทางด้านร่างกาย
ชีววิทยา
สรีรวิทยา
E = Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดดารกับวัฒนธรรม
มีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสม
การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
D = Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
แบ่งตามประโยชน์และโทษ
ส่งเสริมสุขภาพ
ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
ไม่ได้ให้ประโยชน์
หญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
เด็กกินดินหรือโคลน
ให้โทษ
รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ