Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
สุขอนามัย (Hygiene)
หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการป้องกันโรค
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene)
เรื่องราวที่ว่าด้วยการดูแล ปรับปรุง ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เป็นโรค
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลความสะอาดและสุขภาพของผิวหนัง ผม เล็บ ปาก ฟัน ตา หู จมูก และอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ภาวะสุขภาพ
การศึกษา
เศรษฐกิจ
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
ภาวะเจ็บป่วย
สิ่งแวดล้อม
ขนบธรรมเนียบประเพณีและความเชื่อ
ความชอบ
ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การอาบน้ำ(Bathing) เป็นกิจวัตรประจำวันของมนุษย์ เพื่อชำระสิ่งสกปรกออกจากร่างกาย
ชนิดของการอาบน้ำ
Complete bed bath
Partial bed bath
Sponge bath in the sink
Tub bath
Shower
Bag bath/travel bath
การพยาบาลในช่วงเวลาต่าง ๆ
1.การพยาบาลตอนเช้าตรู่
3.การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
4.การพยาบาลตอนก่อนนอน
การพยาบาลเมื่อผู้ป่วยต้องการ
2.การพยาบาลตอนเช้า
การดูแลความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
การอาบน้ำผู้ป่วยเฉพาะบางส่วน
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
การนวดหลัง
หลักการนวดหลัง
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
Stroking
เป็นการลูบตามแนวยาวใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างวางที่บริเวณก้นกบ
Friction
ใช้ฝ่ามือลูบแบบถูไปมาตามแนวยาวของกล้ามเนื้อไหล่ กล้ามเนื้อสีข้าง ทั้งสองข้างนิ้วชิดกัน
Kneading
เป็นการบีบนวดกล้ามเนื้อ
Beating
กำมือหลวมๆ ทุบเบาๆ บริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น
Hacking
ใช้สันมือสับเบาๆ ใช้สันมือด้านนิ้วก้อยสับสลับกันเร็วๆ โดยการกระดกข้อมือสับขวางตามใยกล้ามเนื้อบริเวณตะโพก
Clapping
ใช้อุ้งมือตบเบาๆ โดยห่อมือให้ปลายนิ้วชิดกันทั้งสองข้าง ให้เกิดช่องว่างตรงกลางฝ่ามือตบเบาๆ สลับมือกัน
การลูบตัวลดไข้ (Tepid sponge)
การระบายความร้อนออกจากร่างกาย การลูบตัวด้วยน้ำ
1.ลดอุณหภูมิในร่างกาย
2.ช่วยกระตุ้นให้การไหลเวียนของโลหิต
3.ความตึงเครียด ผ่อนคลาย
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
การดูแลความสะอาดของตา
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
การดูแลทำความสะอาดของหู
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกหญิง
ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก
หลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ เรียกสั้น ๆ ว่า P-careหรือ flushing
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่มตามแนวขวาง เลื่อนผ้านุ่งขึ้นไปถึงเอว ให้ผู้ป่วยนอนหงายชันเข่าขึ้น
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกชาย
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย (dorsal position) เปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
ระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายจากการได้รับการอาบน้ำ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
บอกผู้ป่วยให้ทราบ
เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอนและปลอกหมอนให้ใหม่
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
ความสำคัญ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ความหมาย
การพักผ่อน
การผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจ
การนอนหลับ
กระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงาน
วงจรของการนอนหลับ
ลำดับของการนอนหลับโดยเริ่มจาก4ระยะของการนอนหลับชนิดไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว และกลับสู่ระยะที่3 แล้วระยะที่ 2 ซึ่งผ่านเข้าไปในระยะแรกของการนอนชนิดที่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว
ระยะของการนอนหลับ
การนอนหลับชนิดไม่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว
การนอนหลับชนิดมีการเคลื่อนไหวลูกตาอย่างรวดเร็ว
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายในส่วนบุคคล
เพศ
อายุ
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
เสียง
ความไม่คุ้นสถานที่
อาหาร
แสง
อุณหภูมิ
การประเมินคุณภาพการนอนหลับ
การประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณ
ระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ
จำนวนครั้งที่ถูกรบกวนขณะนอนหลับ
ระยะเวลาการนอนหลับในแต่ละคืน
การประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
ใช้การประเมินความรู้สึกต่อการนอนหลับ
“หลับดี”หรือ“หลับแย่”
“หลับเพียงพอ”หรือ“หลับไม่เพียงพอ”
ใช้แบบประเมินแบบแผนการนอนหลับ
ชนิดและสาเหตุของการนอนหลับไม่เพียงพอ
1.การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
Hypersomnia
นอนหลับมากหรือง่วงมากกว่าปกติ
Parasomnia
เป็นพฤติกรรมที่ควรเกิดขณะตื่นแต่กลับเกิดขณะหลับ
อาการสับสน
ละเมอเดิน
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น
ละเมอพูด
ศีรษะโขกกำแพง
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ภาวะฝันร้าย
ภาวะผีอำ
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ชนิด NREM
ทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง
กล้ามเนื้อคออ่อนแรง
ชนิด REM
ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
การส่งเสริม
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม และมีความปลอดภัย
2.การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วยเพื่อความสุขสบาย
3.การส่งเสริมให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
สิ่งแวดล้อมที่ดี
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
1.การประเมินภาวะสุขภาพ(Assessment)
วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนกลางวัน
วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนหลับ
สิ่งที่ช่วยให้นอนหลับ
สาเหตุที่ทำให้นอนไม่หลับและการแก้ไข
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล
4.การพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล