Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
การศึกษา บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งทราบถึงประโยชน์ และโทษของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เศรษฐกิจ บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บ ารุงผิว ผม ปาก ฟัน และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
ภาวะสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บปุวยทางสุขภาพจิต ท าให้ขาดความสนใจ หรือละเลยการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
อาชีพบุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ จึงให้ความใส่ใจต่อการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้เป็นอย่างดี
เพศความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน เช่นเพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอและไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชาย
ถิ่นที่อยู่การด าเนินชีวิตภายใต้ถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน เช่น การด าเนินชีวิตในเขตเมือง และเขตชนบท จะมีการใช้ชีวิตและมีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกัน
อายุความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
ภาวะเจ็บปุวยในภาวะการเจ็บปุวย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง เช่น โรคหัวใจ
สิ่งแวดล้อม ในฤดูร้อนอุณหภูมิจะสูงท าให้รู้สึกร้อนอบอ้าว อากาศร้อนท าให้คนเรามีเหงื่อไคลและกลิ่นตัวที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล จะเป็นผลต่อการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขอนามัยส่วนบุคคล เช่น ห้ามสระผมขณะมีไข้
ความชอบเป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลมาจากครอบครัวโรงเรียน และปลูกฝังจนเป็นอุปนิสัยในการดูแลตนเองด้านความสะอาดร่างกาย
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น จะเป็นหน้าที่ของเวรบ่ายในการดูแลท าความสะอาดปากและฟัน การล้างมือ ล้างหน้า หวีผม สระผมการให้บริการหม้อนอน หรือกระบอกปัสสาวะ
การพยาบาลตอนก่อนนอน เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ การล้างมือ ล้างหน้าท าความสะอาดปากฟัน การนวดหลัง การจัดท่าให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนอย่างสุขสบาย
การพยาบาลตอนเช้า ารพยาบาลเพื่อดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจ าวันถ้าผู้ปุวยช่วยเหลือตนเองได้บ้างหรือท าไม่ได้เลยพยาบาลจะช่วยเหลือในการอาบน้ าผู้ปุวยบนเตียง ให้บริการหม้อนอนในผู้ปุวยหญิง รวมทั้งสิ่งแวดล้อมภายในห้อง
การพยาบาลเมื่อจ าเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ปุวยตลอด 24ชั่วโมง เช่น ถ้าผู้ปุวยปัสสาวะรดที่นอนเปียกทั้งตัว
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืดเมื่อผู้ปุวยตื่นนอนแล้ว พยาบาลจะดูแลผู้ปุวย ช่วยเหลือเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ การให้กระบอกปัสสาวะ หรือหม้อนอน การท าความสะอาดร่างกาย เช่นการเช็ดหน้า ล้างมือ
ความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
เมื่อบุคคลอยู่ในภาวะเจ็บปุวย จะไม่มีความสุขทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจพยาบาลจะเป็นผู้ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคลเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บปุวยนั้นการดูแลสุขอนามัยเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์และเป็นสิ่งที่พยาบาลควรตระหนักถึงเนื่องจากความสุขสบายทั้งทางร่างกายและจิตใจจะช่วยส่งเสริมให้ผู้ปุวยมีความสุขกายสุขใจ
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของตา
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การดูแลทำความสะอาดของหู
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
การดูแลความสะอาดของเล็บ
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ(Bathing)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน ไม่สามารถอาบน้ าเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน พยาบาลต้องช่วยเช็ดบางส่วนที่ผู้ปุวยไม่สารถเช็ดเองได้ เช่น บริเวณหลัง ในกรณีที่ผู้ปุวยเช่น หลังการผ่าตัดไส้ติ่ง
การอาบน้ าผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องนอนบนเตียง หรือนอนติดเตียง (bed ridden) ในผู้ปุวยโรคเรื้อรัง ในกรณีที่ เช่น การผ่าตัดใหญ่วันแรก
การอาบน้ าที่ห้องน้ำ เป็นการอาบโดยใช้ฝักบัว หรือตักน้ าอาบร่างกาย เมื่อผู้ปุวยสามารถลุกจากเตียงได้ พยาบาลช่วยพยุงเดินไปห้องน้ำ พยาบาลต้องประเมินความสามารถในการท ากิจกรรมของผู้ปุวยก่อนพาไปอาบน้ าที่ห้องน้ าเพราะผู้ปุวยอาจมีอาการหน้ามืดหรือเป็นลมได้ในห้องน้ำได้
จุดประสงค์การอาบน้ำผู้ปุวยบนเตียง
ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกก าลังกายของข้อต่างๆ
กำจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและปูองกันแผลกดทับ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์ท าให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่ายอาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิดโมโหง่ายเกิดความสับสน
3.2.3.3ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอท าให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลงสมาธิไม่ดี
ผลกระทบต่อร่างกายท าให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่าง เช่นอาการเมื่อยล้าคลื่นไส้อาเจียน กล้ามเนื้อคออ่อนแรงความคิดและการรับรู้บกพร่องเหนื่อยล้า
3.2.3.4ผลกระทบทางสังคมบุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอจะส่งผลทางสังคมได้แก่การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
ช่วงหลับฝัน
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการหายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
ช่วงเวลาหลับฝันนี้จะกินเวลาประมาณ 30 นาที หลังจากผ่านช่วงหลับฝันไปแล้ว ก็จะกลับเริ่มที่ระยะที่ 1 ของ NREM ใหม่ หมุนเวียนอย่างนี้ไปเรื่อย โดยแต่ละรอบจะใช้เวลา 80-120 นาที ในคืนหนึ่งที่เรานอนจะหมุนผ่านวงจรแบบนี้ไปหลายรอบ ขึ้นกับระยะเวลาการนอน
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด พบว่าความเจ็บปวดเป็นปัจจัยกวนการนอนหลับด้านร่างกายมากที่สุด
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง เป็นสิ่งแปลกปลอมของร่างกายประกอบกับผู้ปุวยมีข้อจ ากัดท าให้การเคลื่อนไหวลดลง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่วร่างกาย
ภาวะไข้หลังผ่าตัด การมีอุณหภูมิร่างกายสูงหลังผ่าตัด ท าให้เกิดความไม่สุขสบาย และนอนไม่หลับได้
ปัจจัยส่วนบุคคล
เพศ เพศหญิง 10-20 ปี เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้น พบว่าการนอนหลับระยะ REM ลดลง ตื่นขณะหลับ และคงสภาพความลึกของปริมาณการนอนหลับได้มากกว่าจนถึงวัยชรา
อายุ ตั้งแต่วัยทารกถึงวัยสูงอายุ ในผู้สูงอายุการนอนหลับจะลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ
ความวิตกกังวล
พบว่า ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่าง เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับ อยู่ในระดับ 3.03 จากคะแนนเต็ม 5คะแนน ความวิตกกังวลมักเกิดจากสิ่งที่คุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกาย และจิตใจ
ปัจจัยภายนอก
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลก
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
แสง
อาหาร
เสียง
ยายาที่รบกวนการนอนหลับ ได้แก่ ยาบาบิทูเรต โดยยาจะไปออกฤทธิ์รบกวนการนอนหลับในระยะ REM เกิดฝันร้ายและภาพหลอน
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่งจะแสดงออกในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลับ เช่น หลับขณะขับรถยนต์
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สงวนพลังงานพลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น ขณะอยู่เฉยโดยประมาณการลดพลังงานร้อยละ15
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจ า เนื่องจากการนอนหลับในระยะ(Rapid eye movement sleep: REM)จะมีการท างานของระบบประสาทเต็มที่ มีการกระตุ้นให้ความจ าระยะสั้นเป็นความจ าระยะยาวได้
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายโดยศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายอยู่ใต้สมองส่วนไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหน้าท าหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
เสียง
อุณหภูมิมีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศาเซลเซียส
กลิ่นแบ่งออกเป็น กลิ่นหอมและกลิ่นเหม็น
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอ านวยความสะดวก
แสงสว่างสภาพแวดล้อมที่ดีต้องไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้าจนเกินไป
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามและน่าอยู่อาศัย
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Prone position เป็นท่านอนคว่ า เป็นท่านอนที่สุขสบาย ส าหรับผู้ป่วย ที่ไม่รู้สึกตัว แต่มีการหายใจปกติ
Lateral position เป็นท่านอนตะแคงจัดเพื่อความสุขสบายของผู้ปุวย ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยนอิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป
ความหมายและความสำคัญการพักผ่อนนอนหลับ
Bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง สามารถท ากิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ปุวย เช่น ไปห้องน้ำด้วยตนเอง
การนอนหลับ มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง อวัยวะทุกส่วนท างานลดลง รวมทั้งสภาวะจิตใจ และมีการเอนกายลงในท่าสงบนิ่งและหลับตา เป็นภาวะที่เกิดขึ้นชั่วคราว ปลุกให้ตื่นได้โดยมีการกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าที่เหมาะสม
Absolute bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย ห้ามลุกออกจากเตียง การทำกิจกรรมการพยาบาล พยาบาลจะต้องเป็นผู้จัดกิจกรรมให้
การทำเตียง
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้
การทำเตียงว่าง
การทำเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ปุวยที่ได้รับยาสลบ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล(Planning)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment)
S:“นอนไม่หลับมา 3 วัน บางคืนหลับได้สักครู่ก็สะดุ้งตัวตื่น ”
จากการตรวจร่างกายพบ ท่าทางอิดโรย ไม่สดชื่น วัดสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่มีไข้ ชีพจร และการหายใจปกติ ความดันโลหิตปกติ
การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)