Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
พยาบาลจะเป็นผู้ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคลเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วย เพื่อช่วยขจัดสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ภาวะสุขภาพ
การศึกษา
เศรษฐกิจ
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
ภาวะเจ็บป่วย
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
ความชอบ
สิ่งแวดล้อม
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care)
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
(Afternoon care/ P.M. care)
การพยาบาลตอนก่อนอน
(Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
(As needed care/ P.r.N. care)
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
(Early morning care)
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้ าที่ห้องน้ำ
(Bathing in bath room/ Shower)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
(Partial bath)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
(Complete bed bath)
การนวดหลัง
(Back rub or back massage)
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้มลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออก หรือฝ้าในช่องปาก
การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
การดูแลความสะอาดของตา
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
ความสุขสบายของผู้ป่วย
การดูแลทำความสะอาดของหู
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
จุดประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อนของผู้ปุวยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ๆ
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การพักผ่อน (Rest)
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ โดยนั่งเฉย ๆ ชั่วขณะหนึ่ง
ผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย รวมถึงความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับฝัน
(Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่าง ๆ ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการหายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
ช่วงเวลาหลับฝันนี้จะกินเวลาประมาณ 30 นาที หลังจากผ่านช่วงหลับฝันไปแล้ว
จะกลับเริ่มที่ระยะที่ 1 ของ NREM ใหม่ หมุนเวียนอย่างนี้ไปเรื่อย โดยแต่ละรอบจะใช้เวลา 80-120 นาที
ในคืนหนึ่งที่เรานอนจะหมุนผ่านวงจรแบบนี้ไปหลายรอบขึ้นกับระยะเวลาการนอน
บางคืนจึงฝันได้หลายเรื่อง
ในขณะที่นอนงร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น
แต่มีสิ่งต่อไปนี้ลดลง
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ำเสมอ
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง ๆ คลายตัว
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
ตากลอกขึ้น หรือเหมือนลืมตา รูม่านตาหดตัว
ปริมาณปัสสาวะลดลง
ช่วงหลับธรรมดา
(Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การนอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที - 7 นาที เป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน ระยะนี้จะถูกปลุกให้ตื่นได้โดยง่าย
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติรู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง
แม้ได้รับสิ่งเร้าจากภายนอกก็จะไม่ตื่นโดยง่าย ขั้นนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะที่ 4 อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้ายได้ อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การนอนหลับ การนอนหลับเป็นการพักผ่อนที่ดีที่สุด
การนอนหลับสงวนพลังงาน พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลง
การนอนหลับส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
การนอนหลับซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ ช่วยส่งเสริมการหายของแผล ช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
การนอนหลับควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การนอนหลับส่งเสริมการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
เมื่อยล้า
อาเจียน
ท้องผูก
คลื่นไส้
ปวดศีรษะ
วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ความทนต่อความเจ็บปวดลดลง
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
เซื่องซึม
หงุดหงิด
โมโหง่าย
หวาดระแวง
หูแว่ว
ไม่สามารถควบคุมหรือยับยั้งพฤติกรรมก้าวร้าวของตนเองได้
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
ทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง
สมาธิไม่ดี
แก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ความมั่นใจในการท างานลดลง
ใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง ๆ
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความเจ็บปวด
ความวิตกกังวล
การสูญเสียบทบาทหน้าที่ทางครอบครัวและสังคม
การไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เหมือนปกติ
ความไม่คุ้นเคยต่อการนอนโรงพยาบาล
ปัจจัยภายนอก
เสียง
เสียงที่เกิดจากกิจกรรมการพยาบาลดูแลผู้ป่วยของพยาบาลทั้งทางตรงและทางอ้อม
เสียงเครื่องคำนวณหยดน้ำเกลือ
เครื่องช่วยหายใจ
เสียงอุปกรณ์การแพทย์
เสียงจากเจ้าหน้าที่
เสียงรบกวนจากผู้ป่วยอื่น
อุณหภูมิ
อุณหภูมิต่ำจะมีผลลดการนอนหลับระยะ REM มากกว่าอุณหภูมิสูง
อุณหภูมิจากสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่ออุณหภูมิภายในร่างกายโดยตรง
อุณหภูมิห้องที่ต่ำกว่า 23.9 องศาเซลเซียส ทำให้ตื่นบ่อยขึ้น
อุณหภูมิห้องที่ต่ำกว่า 12.2 องศาเซลเซียสทำให้เกิดความไม่สุขสบาย
แสง
การเปิดไฟเพื่อให้การพยาบาลบ่อยครั้งเป็นการรบกวนการนอนหลับของผู้ป่วย
การเปิดไฟไว้ตลอดเวลา ทำให้การรับรู้ความแตกต่างของเวลากลางวันและกลางคืนลดลง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
ผู้ป่วยรู้สึกอึดอัดไม่สุขสบาย
เตียงนอนเป็นปัจจัยรบกวนการนอนหลับถึงร้อยละ 44
การเปลี่ยนที่นอนเกิดความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
การพลิกตะแคงตัว
การให้ยากินและฉีด
การให้อาหารและการตรวจวัดสัญญาณชีพ
อาหาร
การรับประทานอาหารที่มีสารทริพโทแฟ็น (tryptophan) ซึ่งมีอยู่ในนมจะส่งเสริมการนอนหลับ
เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน จะมีฤทธิ์กระตุ้นและคงไว้ในร่างกาย 3-5 ชั่วโมง ซึ่งมีผลต่อการหลับและการตื่น
ยา
ยาที่รบกวนการนอนหลับ
ยาบาบิทูเรต (barbiturates) เกิดฝันร้ายและภาพหลอน
ยาปิดกั้นเบต้ารีเซฟเตอร์ (beta-blocker drug) ทำให้เกิดฝันร้าย
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroids) รบกวนการนอนหลับและทำให้นอนไม่หลับ
ยาขยายหลอดลม ทำให้นอนหลับยากและรบกวนการนอนหลับ
ยาต้านอาการซึมเศร้า (antidepressant) รบกวนการนอนหลับในระยะ REM ทำให้แขนหรือขากระตุกเป็นระยะขณะนอนหลับเพิ่มขึ้น
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น 3- 5 วัน
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
สาเหตุเกิดจาก
โรคทางจิตเวช
ภาวะวิตกกังวล
โรคทางอายุรกรรม
วัยทอง
โรคสมองเสื่อม
โรคหอบหืด
อาการปวด
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
คาเฟอีน
ยาแอมเฟตามีน
สเตียรอยด
โรคของการนอนหลับโดยตรง
อาการขากระตุกเป็นพัก ๆระหว่างหลับ
การหยุดหายใจเป็นพัก ระหว่างหลับ
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมากหรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
หลับ ในห้องประชุม
หลับขณะรับประทานอาหาร
หลับขณะขับรถยนต์
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
ละเมอพูด
ศีรษะโขกกำแพง
อาการขากระตุกขณะกำลังหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ภาวะฝันร้าย
ภาวะผีอำ
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
อาการสับสน
ละเมอเดิน
ฝันร้าย
กลุ่มอื่น ๆ
การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ
การกรน
การนอนกัดฟัน
การไหลตาย
ผลจากการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
เมื่อยล้า
คลื่นไส้
อาเจียน
ท้องผูก
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ความคิดบกพร่อง
การรับรู้บกพร่อง
ประสาทหลอน
ผลในภาพรวม
การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพ
อ่อนล้า
ขาดสมาธิ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
เสียง
กลิ่น
อุณหภูมิ
แสงสว่าง
ความพร้อมของอุปกรณ์
ความเป็นส่วนตัว
ความสะอาด
ความอบอุ่น
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Prone position เป็นท่านอนคว่่ำ
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ป่วย
การทำเตียง
การทำเตียงว่าง (Close bed)
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ether/anesthetic bed)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)