Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
พื้นฐานสำคัญของวัฒนธรรม
องค์รวมของความรู้และภูมิปัญญาทําหน้าที่ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ มีการวางกฎเกณฑ์แบบแผนในการดําเนินชีวิต มีการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
กระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol) ซึ่งกล่าวว่าพฤติกรรมของมนุษย์มีต้นกําเนิดมาจากการใช้สัญลักษณ์ เช่น เงินตรา สัญญาณจราจร สัญลักษณ์ทางศาสนา และภาษา ซึ่งมนุษย์สามารถเรียนรู้และถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้
สิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
สิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned) ซึ่งมนุษย์จะเรียนรู้ทีละเล็กทีละน้อยในสังคมจนกลายเป็น “มรดกสังคม”
ความคิดร่วม (Shared ideas) และค่านิยมทางสังคมเป็นตัวกําหนดมาตรฐานพฤติกรรม
ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดําเนินชีวิตได้
ค่านิยมทางสังคม
โรงเรียน
สถาบันศาสนา
ครอบครัว
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
สื่อมวลชน
องค์การของรัฐบาล
ความเชื่อ
การยอมรับคาอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่งๆที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคมและถ่ายทอดสืบต่อกันมา
เป็นแบบแผนทางวัฒนธรรมของสังคม
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
สุริยุปราคา แรงโน้มถ่วงของโลก โลกกลม
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
ประสบการณ์ชีวิตแลกเปลี่ยนเรียนรู
ความเชื่อแบบประเพณี
ผีปู่ย่าเจ้าป่าเจ้าเขาพระแม่คงคาพญานาค
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ศาสนาอาหารการดื่มนมการออกกาลังกาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
สังคมและวัฒนธรรม
ขัดเกลา ควบคุม ปฏิสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง
ด้านจิตวิทยา
รับรู้เรียนรู
ด้านบุคคล
เพศ อายุ การศึกษา ศาสนา อาชีพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ของโลก
ปัจจัยสาคัญที่นามาซึ่งแนวคิดด้านสุขภาพ
การป้องกันและการดูผู้ป่วยไข้มาลาเรียวัณโรคโรคพิษสุนัขบ้าไข้เลือดออก
ศตวรรษที่20 : มีการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม
ศตวรรษที่21 : มีการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม
ศตวรรษที่19 : วัฒนธรรม
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
วัฒนธรรมดั้งเดิม
ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม
วัฒนธรรมองค์กร
ปรัชญา วิสัยทัศน์ เข็มมุ่งแผนกลยุทธ์
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
กำจัดยุง ฉีดวัคซีน ก ำจัดขยะ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
แบบพื้นบ้าน แบบวิชาชีพ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
อาหาร เครื่องดื่ม ออกกาลังกาย ถือศีลสมาธ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
อาหาร ออกกำลังกาย
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
สภาวะปกติ
การออกกำลังกาย วิตามิน อาหารเสริม
การรับประทานอาหารที่มีคุณค่าการพักผ่อน
สภาวะเจ็บป่วย
การรักษาแบบพื้นบ้านการรักษาแบบตะวันตก
การอยู่ไฟการทำกายภาพบำบัด
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ สามารถจัดแบ่งได้ตามประโยชน์และโทษดังนี้
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์ เช่น ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ เช่น สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ เช่น การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี หรือการห้ามหญิงหลังคลอดบริโภคน้ําดิบ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ เช่น การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นสาเหตุโรคพยาธิ โรคอุจจาระร่วงจากที่กล่าวมาข้างต้น
ประเภทวัฒนธรรม
ฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตน ว่าดีงามเหมาะสม
ภาษา ศีลธรรม
ปรัชญา กฎหมาย
ความคิด ความเชื่อ
วัฒนธรรมทางวัตถุ
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตน ว่าดีงามเหมาะสม
ตึกรามบ้านช่องและถนนหนทางรวมไปถึงศิลปกรรมของมนุษย์เช่น รูปปั้น ภาพวาด
ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม ตึกรามบ้านช่องและถนนหนทางรวมไปถึงศิลปกรรมของมนุษย์เช่น รูปปั้น ภาพวาด
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์การหรือสมาคม(Organization / Association) มีโครงสร้าง ระเบียบ ข้อบังคับ
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือCeremony) งานบวช การแต่งชุดด า มารยาทในสังคม
องค์วัตถุ (Material) จับต้องได้สัญลักษณ์เครื่องหมายภาษา
องค์มติหรือมโนทัศน์(Concepts) ความคิดความเชื่ออุดมการณ์
ความสำคัญของวัฒนธรรม
มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็ นแบบเดียวกัน
ทาให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ค่านิยมของสังคม
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
เป็นเครื่องกาหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
ทาให้มนุษย์มีสภาวะที่ต่างจากสัตว์