Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
บทที่ 3การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
3.1การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
สุขอนามัย หมายถึง หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการปูองกันโรค โดยการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ในการส่งเสริมความสะอาดเพื่อคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดี
สุขอนามัยส่วนบุคคลคือ การดูแลตนเอง เช่น การอาบน้ำ การขับถ่ายปัสาวะ อุจจาระ การดูแลสุขอนามัยทั่วไปของร่างกาย การแต่งตัว สวมใส่เสื้อผ้า การออกกำลัง และการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัยจึงเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการปูองกันโรคโดยการดูแลความสะอาดส่วนต่าง ของร่างกาย ได้แก่ ผิวหนัง ผม เล็บ ปาก ฟัน ตา หู จมูก และอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
3.1.1ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลสุขภาพตนเองเป็นสิ่งที่มนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน การทำความสะอาดร่างกายตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุกวัน เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
3.1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
เพศ
ภาวะสุขภาพ
1.อายุ
4.การศึกษา
5.เศรษฐกิจ
6.อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
8.ภาวะเจ็บป่วย
9.สิ่งแวดล้อม
10.ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
11.ความชอบ
3.1.3 การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมีดังนี้
1.การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
2.การพยาบาลตอนเช้า
3.การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
4.การพยาบาลตอนก่อนนอน
5.การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
3.1.4 การดูแลความสะอาดร่างกาย
3.1.4.1 การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ
ชนิดของการอาบน้ำ แบ่งตามสภาวะของผู้ป่วย มีดังนี้
1.การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
ผู้ป่วยสามารถลุกจากเตียงได้ พยาบาลช่วยพยุงเดินไปห้องน้ำ ช่วยเตรียมของใช้ให้พร้อม เปิดก๊อกน้ำให้ปรับอุณหภูมิที่เหมาะสม จัดที่นั่งในห้องน้ำให้สะดวกต่อการช่วยตนเองในการอาบน้ำ
2.การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
เป็นการทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ไม่สามารถอาบน้ำเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน พยาบาลต้องช่วยเช็ดบางส่วนที่ผู้ป่วยไม่สามารถเช็ดเองได้
3.การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
เป็นการทำความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้ำเช็ดตัวให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมดหรือผู้ป่วยที่จำกัดการเคลื่อนไหวบนเตียง
จุดประสงค์การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
1.กำจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
2.ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
3.ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่าง ๆ
4.สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
การนวดหลัง
มักจะกระทำหลังจากการอาบน้ำหรือก่อนนอนมีหลักการนวดหลังดังนี้
1.จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
2.ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ปุวยโรคหัวใจภาวะมีไข้ โรคผิวหนังโรคมะเร็งระยะลุกลามแพร่กระจาย
3.ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เลือกใช้แป้งหรือโลชันหรือครีมเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
จุดประสงค์การนวดหลัง
1.กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ป้องกันแผลกดทับ
3.ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
4.กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ทำงานดีขึ้น
5.สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
3.1.4.2การดูแลความสะอาดปากและฟัน
เป็นความสะอาดพื้นฐานทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา และเมื่อสุขภาพของฟันแข็งแรง การเคี้ยวอาหารก็จะรับรู้ถึงความอร่อย
วัตถุประสงค์
1.ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
2.กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
3.ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
4.สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้มลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
1.แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน และเศษอาหารในเวลาเช้า หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
2.ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหารและน้ำทางปากได้ ต้องทำความสะอาดปากและฟันให้ทุก2ชั่วโมง
3.ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ สำลีที่ใช้เช็ดทำความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อย
วิธีการทำความสะอาดปากและฟันผู้ป่วยที่ช่วยตนเองได้
1.พยาบาลแนะนำตนเอง บอกให้ผู้ป่วยทราบและอธิบายวัตถุประสงค์ และวิธีการทำความสะอาดปากและฟันอย่างง่ายเพื่อความร่วมมือ
2.นำเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย เพื่อประหยัดเวลาและแรงงาน
3.ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง หรือท่านั่ง เพื่อความสะดวกของผู้ป่วย
4.ล้างมือและสวมถุงมือ เพื่อป้องกันจุลินทรีย์ จากน้ำในช่องปากผู้ป่วยสู่พยาบาล
5.ปูผ้ากันเปื้อนใต้คาง วางชามรูปไตใต้คาง ให้ผู้ป่วยช่วยถือไว้ หรือวางบนโต๊ะคร่อมเตียง (over bed)เพื่อป้องกันเสื้อผ้าและที่นอนเปียก
6.ให้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด และแปรงฟันตามขั้นตอน
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
1.ใช้ลูกสูบยางดูดน้ำฉีดล้างช่องปากและในซอกระหว่างกระพุ้งแก้มและฟัน ปล่อยให้น้ำไหลลงชามรูปไตที่รองไว้ และใช้เครื่องดูดหรือลูกสูบยางอีกอันหนึ่งช่วยดูดน้ำออก แต่การใช้เครื่องดูดจะดีกว่าเพื่อป้องกันผู้ป่วยสำลักน้ำเข้าปอด
2.ตรวจดูสภาพของปากและฟัน
3.ใช้ไม้พันสำลีชุบน้ำยาบ้วนปาก
4.ทำความสะอาดเหมือนการแปรงฟันด้านนอกและเหงือกให้ทั่วอย่างถูกวิธี
5.ใช้ไม้กดลิ้น พันด้วยผ้าก๊อซเพื่อช่วยอ้าปาก
6.ตรวจดูสภาพของเยื่อบุปาก เหงือก ฟัน และลิ้น ถ้าหาเยื่อบุช่องปากแห้ง มีคราบสกปรกในช่องปาก
7.ท าความสะอาดเหมือนการแปรงฟันด้านใน ด้านบดเคี้ยวให้ทั่ว
8.สูบฉีดล้างช่องปากให้ทั่ว ดูดน้ำออกให้หมด หากมีน้ำเหลือค้างอยู่อาจทำให้สำลักได้ ปลดเครื่องถ่างปากออก
9.เช็ดปากให้ผู้ป่วย ถ้าริมฝีปากแห้งทาด้วยวาสลิน
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3.1.4.3การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
1.ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
2.ป้องกันการเกิดเล็บขบ
วิธีการปฏิบัติ
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
2.ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย จัดวางให้เรียบร้อยเพื่อสะดวกในการใช้
3.คลี่ผ้าเช็ดตัวรองอ่างน้ำ แช่มือ หรือเท้าสักครู่เพื่อให้เล็บและขี้เล็บอ่อนตัว ช่วยให้ตัดเล็บและแคะสิ่งสกปรกที่เล็บออกได้ง่ายขึ้น
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
4.ใช้ผ้าเช็ดตัวถูสบู่พอกขัดตามซอกเล็บ ง่ามนิ้ว ถ้าเล็บสกปรกมากอาจใช้ปลายตะไบแคะสิ่งสกปรกออก
5.ยกอ่างน้ำออก เช็ดมือหรือเท้าให้แห้ง
6.ปูกระดาษรอง
7.ใช้ตะไบถูเล็บให้ขอบเล็บเรียบเพื่อป้องกันผิวหนังเกิดแผลถลอกจากการขีดข่วนของเล็บ
8.เปลี่ยนน้ำ ล้างมือหรือล้างเท้าอีกครั้งหนึ่ง เช็ดให้แห้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3.1.4.4การดูแลความสะอาดของตา
การทำความสะอาดตา
ผู้ป่วยบางรายอาจมีขี้ตามากกว่าปกติ ขี้ตาอาจแห้งติดหนังตาหรือขนตา ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออก ไปวันละ 2-3 ครั้ง
จุดประสงค์
1.กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
2.ความสุขสบายของผู้ป่วย
3.ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
วิธีปฏิบัติ
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
2.ยกของใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย จัดวางให้สะดวกในการใช้
3.จัดให้ผู้ป่วยนอนนอนตะแคงด้านที่ต้องการทำความสะอาด
4.ใส่ถุงมือสะอาดเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
5.ใช้สำลีชุบ 0.9%NSS พอหมาด เช็ดจากหัวตาไปหางตา ถ้าขี้ตาแห้งติดหนังตาหรือขนตา ควรวางสำลีชุบ 0.9%NSS
6.พลิกตัวผู้ป่วยตะแคงด้านตรงข้าม และทำความสะอาดตาอีกข้างหนึ่งด้วยวิธีเดียวกัน
7.สังเกตลักษณะและจำนวนของขี้ตา รวมทั้งสภาพของตาว่าบวม แดง หรือไม่
เก็บของใช้ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อยสำลีทิ้งลงถังขยะติดเชื้อ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3.1.4.5การดูแลทำความสะอาดของหู
จุดประสงค์
1.กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
2.ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
วิธีปฏิบัติ
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
2.ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงของผู้ป่วยจัดวางให้สะดวกในการใช้
3.จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อจัดท่าที่เหมาะสม
4.สวมถุงมือและmask
5.ใช้สำลีชุบ0.9%NSSหรือน้ำสะอาดเช็ดทำความสะอาดในช่องหู ใบหู และหลังใบหู แล้วเช็ดด้วยผ้าสะอาดจนแห้ง
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3.1.4.6การดูแลทำความสะอาดของจมูก
จุดประสงค์
1.กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
2.ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
3.ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
วิธีปฏิบัติ
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
2.ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงของผู้ป่วยจัดวางให้สะดวกในการใช้
3.จัดผู้ปุวยให้อยู่ในท่านอนหงาย ศีรษะสูง(ถ้าไม่มีข้อห้าม)เพื่อจัดท่าที่เหมาะสม
4.สวมถุงมือและmask
ใช้สำลีชุบเบนซินเช็ดคราบพลาสเตอร์ออก และเช็ดส่วนที่เป็นยางเหนียวของพลาสเตอร์บนผิวหนังออกให้หมด
6.ใช้ไม้พันสำลีชุบน้ าหรือ0.9% NSS บีบพอหมาด เช็ดในรูจมูกเบาโดยรอบ ถ้ามีสายคาที่จมูกอยู่
7.ถ้ามีสายที่คาในรูจมูก ใช้ผ้าก๊อซเช็ดสายที่คาในจมูกส่วนที่อยู่นอกจมูก รวมทั้งบริเวณจมูกให้สะอาดและแห้ง
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3.1.4.7การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
1.ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
2.ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
3.ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
วิธีปฏิบัติ
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
2.วางของใช้บนรถเข็นสระผมเคลื่อนที่นำไปที่เตียง จัดวางเครื่องใช้ให้สะดวกแก่การหยิบใช้
3.จัดผู้ป่วยนอนหงายทแยงมุมกับเตียง ให้ศีรษะอยู่ริมเตียง นำผ้าเช็ดตัวม้วนกลมรองไว้ใต้คอผู้ป่วย
4.รองผ้าเช็ดตัววางบนผ้าม้วนกลม แล้วรองผ้ายางบนผ้าเช็ดตัวผืนนั้น เพื่อช่วยซับน้ำหากหกไหลเลยผ้ายางออกไป และใช้เช็ดผมเมื่อสระเสร็จแล้ว
5.เลื่อนรถสระผมฯ เทียบกับขอบเตียงวางศีรษะผู้ป่วยบนผ้าผืนที่ม้วนรองใต้คอ จัดชายผ้ายางให้ลงในอ่างล้างผม ใช้ไม้หนีบผ้าหนีบผ้ายางให้ติดกัน
6.ใช้หวีหรือแปรงสางผมให้ทั่ว
ใช้สำลีชุบน้ำบีบให้หมาดใส่หูข้างละก้อน ปูองกันน้ำเข้าหู และใช้ผ้าเช็ดหน้าผืนเล็กชุบน้ำบิดให้หมาด พับเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าปิดตาผู้ป่วย
8.ใช้แก้วน้ำตักน้ำราดผมพอเปียก เทแชมพูใส่มือถูกัน ชโลมแชมพูให้ทั่วศีรษะ
9.ใช้แก้วน้ำตักน้ำราดผมให้ทั่วโดยราดน้ำที่ละครึ่งศีรษะ ใช้มือลูบฟองยาสระผมจนหมด ทำการสระผมอีกครั้ง
รวบปลายผมบิดให้หมาด
ปลดผ้ายางออกจากคอผู้ป่วย
ใช้เครื่องเป่าผม เป่าผมให้แห้ง
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3.1.4.8การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
1.การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย
วิธีปฏิบัติ
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตูหรือกั้นม่านให้มิดชิดเพื่อความเป็นส่วนตัวและลดความเขินอาย
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ป่วย
4.จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย
5.ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้ตะโพก และจัดหม้อนอนตรงพอดีกับก้น
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน และชุดชำระไว้ด้านปลายเท้า
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง มาที่เตียงให้ครบถ้วน วางไว้ในที่เหมาะสม หยิบใช้สะดวก เปิด P-care set
8.ใช้ forceps ใน setหยิบสำลีออกจากชามกลมวางบนผ้าห่อ 4ก้อนวางforcepsบนผ้าห่อ
9.เทน้ำสบู่ หรือสบู่เหลวบนสำลีในชามกลมพอประมาณ
ใช้มือข้างซ้ายจับองคชาตแล้วค่อยรูดหนังหุ้มปลายหรือก้อนที่ 1 เช็ดบริเวณ glans penis รูเปิดท่อปัสสาะก้อนที่ 2 เช็ดรอบ องคชาติ ก้อนที่ 3 เช็ดลูกอัณทะ ถึงรูทวาร
11.เท0.9% NSS หรือน้ำอุ่น บนสำลีในชามพอประมาณเช็ดก้อนที่ 4, 5 และ 6 เช็ดเหมือน ก้อนที่ 1-3ด้วย ส่วนก้อนที่ 7 ใช้เช็ดสะอาดให้เรียบร้อย
เลื่อนbed panออก คลุมด้วยbed pad และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอนในท่าที่สุขสบาย
เก็บของใช้ไปท าความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
2.การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง
เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง เช่น ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก ปกติจะชำระให้วันละ 1-2ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระเรียกสั้น ว่า P-careหรือ flushing
จุดประสงค์
1.กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
2.ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับ การสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
วิธีปฏิบัติ
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตูหรือกั้นม่านให้มิดชิดเพื่อความเป็นส่วนตัวและลดความเขินอาย
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ปุวย
4.จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่มตามแนวขวาง เลื่อนผ้านุ่งขึ้นไปถึงเอว ให้ผู้ปุวยนอนหงายชันเข่าขึ้น เหน็บผ้าห่มคลุมขา ให้เรียบร้อย
5.ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้ตะโพก และจัดหม้อนอนพอดีตรงก้นการสอดหม้อนอนให้ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน และชุดชำระไว้ด้านปลายเท้า
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง มาที่เตียงให้ครบถ้วน วางไว้ในที่เหมาะสม หยิบใช้สะดวกเปิด P-care set
8.ใช้ forceps ใน set หยิบสำลี4 ก้อนออกจากชามกลมสำลีวางบนผ้าห่อของแล้ววางforcepsบนผ้าห่อของด้วย
9.เทน้ำสบู่ หรือสบู่เหลวบนสำลีในชามกลมพอประมาณ
ใช้หัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือข้างซ้ายแหวก labia ออก และใช้มือขวาอีกข้างหนึ่งหยิบ forcepsคีบสำลีในชาม ก้อนที่ 1 เช็ดระหว่างlabiamajora และ labiaminora ไกลตัว ก้อนที่ 2 เช็ดระหว่าง labiamajora และ labiaminora ใกล้ตัว ก้อนที่ 3 เช็ดตรงกลางผ่าน urethra meatus และ vaginal orifice จนถึง anus วางforcepsลง เทน้ำสบู่ที่เหลือลงบริเวณ vulva
11.เท0.9% NSS หรือน้ำสะอาดบนสำลีในชามกลมพอประมาณเช็ดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยวิธีเดียวกันก้อนที่ 4, 5 และ 6 ส่วนสำลีก้อนที่ 7 ใช้เช็ดสะอาดให้เรียบร้อย
เลื่อนbed panออก คลุมด้วยbed pad ปิด และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
ให้ผู้ป่วยวางขาลง เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอนในท่านอนหงายราบ
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3.1.4.9กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียด
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียด
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องเนื่องจากเป็นอัมพาต
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ซึ่งขึ้นอยู่กับปัญหาความต้องการของผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย การอาบน้ำการนวดหลัง การทำความปากและฟัน เส้นผมและหนังศรีษะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
3.2การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
3.2.1 ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน หมายถึง การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่าง โดยนั่งเฉย ชั่วขณะหนึ่ง อาจทำกิจกรรมเบา นันทนาการ เปลี่ยนอิริยาบท หรือชมวิว เพื่อให้อวัยวะได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความกังวล
การพักผ่อน หมายถึง ผ่อนคลายและมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกายรวมถึงความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์ เพราะฉะนั้นการพักผ่อนไม่ได้หมายถึงการไม่มีกิจกรรม ความจริงแล้วการเปลี่ยนอิริยาบถก็เป็นการพักผ่อนส าหรับบางคนได้ ดังนั้นความหมายและความต้องการของค าว่าการพักผ่อนจึงแตกต่างกันมากในแต่ละบุคคล
การนอนหลับเป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่น โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่าง ของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย
3.2.2 ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
สงวนพลังงานพลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
3.2.3ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
3.2.3.1ผลกระทบต่อร่างกาย
3.2.3.2ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
3.2.3.3ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
3.2.3.4ผลกระทบทางสังคม
3.2.3วงจรการนอนหลับ
1)ช่วงหลับธรรมดา
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
2) ช่วงหลับฝัน
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการหายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ เช่น หลอดเลือดและสำไส้ โดยในช่วงนี้ตาจะกลอกไปซ้ายขวาอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะได้พักผ่อน แต่สมองจะยังตื่นตัวอยู่
ในขณะที่นอนหลับสรีรวิทยาของร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น แต่มีสิ่งต่อไปนี้ลดลง คือ
4.อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
5.การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ าเสมอ
3.ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
6.กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง
1.การผลิตความร้อนลดลงร้อยละ10-15
8.ปริมาณปัสสาวะลดลง
3.2.4ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
3.2.4.1 ปัจจัยภายใน
1) ปัจจัยส่วนบุคคล
1) อายุ
2) เพศ
2) ความไม่สุขสบาย
1) ความเจ็บปวด
2) การใส่สายยางและท่อระบายต่าง จากสายยางและท่อระบายต่าง
3) ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
4) อาการคลื่นไส้ อาเจียน มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่วร่างกาย
5) ภาวะไข้หลังผ่าตัด การมีอุณหภูมิร่างกายสูงหลังผ่าตัดเป็นปฏิกิริยา
3)ความวิตกกังวล
3.2.4.2ปัจจัยภายนอก
1) เสียง
2)อุณหภูมิ
3)แสง
4) ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
5)กิจกรรมการรักษาพยาบาล
6) อาหาร
7) ยา
3.2.5 การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
3.2.5.1Insomniaเป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด มี 3 ลักษณะ คือ
1)การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
2) การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น
3) การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
สาเหตุ
1) โรคทางจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้า
2) โรคทางอายุรกรรม เช่น โรคสมองเสื่อม
3) อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
4) โรคของการนอนหลับโดยตรง
3.2.5.2 Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่งจะแสดงออกในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลับ
3.2.5.3 Parasomnia
2) ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
3) กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
1) ความผิดปกติของการตื่น
4) กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM ได้แก่ เมื่อยล้า คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูกเวียนศีรษะ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM ได้แก่ ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
3.2.6 การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
3.2.6.1 การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามและน่าอยู่อาศัย
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอ านวยความสะดวก
อุณหภูมิมีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศา
เสียงแหล่งกำเนิดเสียงจากภายนอกห้อง
กลิ่นแบ่งออกเป็น กลิ่นหอมและกลิ่นเหม็น
6.แสงสว่างสภาพแวดล้อมที่ดีต้องไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้าจนเกินไป แสงสว่างที่ดีที่สุดควรเป็นแสงธรรมชาติ
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
3.2.6.2 การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป เป็นท่านอนที่จัดขึ้นเพื่อความสุขสบาย สำหรับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยเป็นอัมพาต หรืออ่อนเพลียไม่มีแรง
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา ท่านี้ลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง สะดวกสำหรับให้ผู้ปุวยทำกิจกรรมบนเตียง
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ เป็นท่านอนที่สุขสบาย สำหรับผู้ป่วย ที่ไม่รู้สึกตัว
4.Lateral position เป็นท่านอนตะแคงจัดเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ป่วยได้เปลี่ยนอิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข เพื่อความปลอดภัย และความสุขสบายควรมีที่เท้าแขน
3.2.7 การทำเตียง
การทำเตียง มี 4 ชนิด
1) การทำเตียงว่าง
เป็นการทำเตียงที่ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วย เพื่อเตรียมรับผู้ป่วยใหม่ หรือทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลงเดินช่วยเหลือตนเองได้
จุดประสงค์
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบายให้หอผู้ปุวยเป็นระเบียบ เรียบร้อย สวยงามน่าอยู่พักอาศัย
จัดเตรียมความพร้อมเตรียมรับผู้ป่วยใหม่
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาดก่อนจัดเตรียมเครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม เตรียมของใช้ให้พร้อมนำไปที่เตียงผู้ป่วย
ถอดนาฬิกา และสวมmask
สวมถุงมือและผ้ากันเปื้อนพลาสติก
นำเครื่องผ้าที่เตรียมไว้ที่เรียงลำดับการใช้
นำถังที่สะอาด และกระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก และผ้าเช็ดเตียงวางไว้ใต้เตียง
เก็บเยือกน้ำ แก้วน้ำ กระโถน และเครื่องใช้อื่น จัดบริเวณเตียงให้มีที่ว่างพอควร ไขเตียงให้ราบ
วางหมอนที่พนักหัวเตียงหรือบนตู้ข้างเตียง สำรวจรอยชำรุดของที่นอนหากมีส่งซ่อมหรือเปลี่ยนใหม่
รื้อผ้าทุกชิ้นโดยดึงชายผ้าที่เหน็บไว้ใต้ที่นอนออกมาทั้งหมด
ฉีดน้ำผสมผงซักฟอก เพื่อทำความสะอาดที่นอนและเตียงแล้วเช็ดตามด้วยน้ำเปล่าจนสะอาด
คลี่ผ้าปูที่นอนให้รอยพับกึ่งกลางตามความยาวของผ้าอยู่ตรงกึ่งกลางที่นอนเพื่อให้ชายผ้าเท่ากันทั้งสองข้างและเหน็บผ้าปูที่นอนเข้าใต้ที่นอนทั้งหัวเตียงและปลายเตียงให้เรียบร้อยแล้วทำมุมชายธงทั้งสองข้าง
ปูผ้ายางในลักษณะขวางกับเตียงบนผ้าปูที่นอนระหว่างกึ่งกลาง
ปูผ้าขวางเตียงทับบนผ้ายางในลักษณะเดียวกันแล้วเหน็บผ้าส่วนที่ขวางลงใต้ผ้ายางประมาณ 2 นิ้วเพื่อเป็นการปูองกันผ้ายางถูกผิวหนังผู้ป่วย
ปูผ้าห่ม แบบเดียวกับผ้าปูที่นอน คลุมหมอนให้มิดชิด แต่ทำชายธงเฉพาะปลายเตียงไม่ต้องเหน็บผ้าด้านข้าง
จัดเตียงและตู้ข้างเตียงให้เข้าที่ทิ้งผ้าที่เปลี่ยนแล้วในถังผ้าเปื้อน
เก็บเหยือก และแก้วน้ำทำความสะอาด ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
ล้างถังน้ำ ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
2) การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
2.ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
วิธีปฏิบัติ
6.ฉีดน้ำผสมผงซักฟอก แล้วเช็ดทำความสะอาดหมอน ที่นอน เตียง ตู้ข้างเตียงและเก้าอี้ เช็ดตามด้วยน้ำสะอาด รอให้น้ำแห้ง
7.กลับที่นอนอีกด้านและเช็ดให้สะอาดเหมือนข้อ 6
เริ่มรื้อผ้าเหมือนการทำเตียงว่าง
8.ปูที่นอนใหม่ เหมือนการทำเตียงว่าง
4.ไขเตียงลงให้ราบ เก็บที่ไขเตียงเข้าที่
พับผ้าห่มเป็นทับซ้อนกับไปมาคล้ายพัด
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียง พาดผ้าที่พนักเตียง วางถังน้ำใต้เตียง
10.จัดเตียงและตู้ข้างเตียงให้เข้าที่ทิ้งผ้าเก่าที่เปลี่ยนแล้วในถังผ้าเปื้อน
11.เติมน้ำในเยือกให้ใหม่ เปลี่ยนแก้วน้ำให้ใหม่
ล้างถังน้ำผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
2.ถอดนาฬิกา ใส่maskผ้ากันเปื้อนพลาสติก และสวมถุงมือสะอาด
1.แนะนำตัวและบอกผู้ป่วยให้ทราบวัตถุประสงค์ของการทำเตียง
ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
3) การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
2.ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
วิธีปฏิบัติ
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียง พาดผ้าที่พนักเตียง วางถังน้ำใต้เตียง
4.ไขเตียงลงให้ราบ เก็บที่ไขเตียงเข้าที่
2.ถอดนาฬิกา ใส่ maskผ้ากันเปื้อนพลาสติก และสวมถุงมือสะอาด
ทำเตียงที่ละด้าน โดยทำด้านตู้ข้างเตียงก่อน เดินอ้อมไปด้านตู้ข้างเตียงก่อน พลิกตัวผู้ป่วยให้นอนตะแคง หันหลังให้ตู้ข้างเตียงยกเหล็กกันเตียงกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
1.แนะนำตัวและบอกผู้ป่วยให้ทราบวัตถุประสงค์ของการทำเตียง
เดินกลับมาด้านตู้ข้างเตียง รื้อเตียงด้านตู้ข้างเตียง โดยดึงชายผ้าที่เหน็บใต้ที่นอนออกทุกชิ้น
7.ตลบม้วนผ้าขวางเตียงและผ้ายางให้ด้านบนของผ้าอยู่ด้านใน ม้วนชิดหลังผู้ป่วย
8.ตลบม้วนผ้าปูที่นอนเช่นเดียวกัน
9.ฉีดน้ำผสมผงซักฟอก เช็ดที่นอนด้วยน้ำผสมผงซักฟอก เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาด รอให้น้ำแห้ง
10.วางผ้าปูที่นอนตามยาวซีกด้านตู้ข้างเตียง ผ้าอยู่ตรงกลางที่นอน ปล่อยชายผ้าห้อยลง อีกครึ่งหนึ่งม้วนชิดหลังผู้ป่วย
เหน็บผ้าด้านหัวเตียง และปลายเตียงให้เรียบร้อย
ปูผ้ายางให้ม้วนด้านหนึ่งชิดหลังผู้ปุวยเหน็บชายผ้ายางเข้าใต้ที่นอน
ปูผ้าขวางเตียงให้สูงเลยขอบด้านบนของผ้ายางประมาณ 2 นิ้ว และให้ม้วนด้านหนึ่งชิดหลังผู้ป่วยเหน็บชายผ้าขวางเตียงเข้าใต้ที่นอน
14.พลิกตัวผู้ปวยให้นอนหงายก่อน แล้วค่อยพลิกนอนตะแคง หันหน้าไปทางด้านที่เปลี่ยนผ้าใหม่ ยกเหล็กกั้นเตียงขึ้น เพื่อปูองกันผู้ป่วยตกเตียง
15.เดินอ้อมไปด้านตรงข้ามตู้ข้างเตียง พร้อมนำถังเช็ดเตียงไปด้วยรื้อผ้าออกโดยดึงชายผ้าที่เหน็บไว้ใต้ที่นอนออกทุกชิ้น
16.ดึงผ้าปูที่นอน ผ้ายาง และผ้าขวางเตียงชุดเก่าออกม้วนให้เข้าด้านใน ดึงออกม้วนทิ้งลงถังผ้าเปื้อน
17.เช็ดที่นอนซีกที่เหลือด้วยน้ำผสมผงซักฟอกให้สะอาด เช็ดแห้งด้วยน้ำสะอาดรอให้น้ำแห้ง
18.ดึงผ้าปูผ้าบนที่ม้วนชิดหลังผู้ป่วยไว้ทีละชิ้นจากชั้นล่างขึ้นมาทีละชิ้นดึงให้เรียบตึง ทำมุมและเหน็บผ้าเข้าใต้ที่นอนให้เรียบร้อย
19.พลิกตัวผู้ป่วยให้นอนหงาย
ห่มผ้าให้ผู้ป่วย หรือผ้า upper sheet ทำมุมผ้าปลายเตียงให้เรียบร้อย
21.ยกศีรษะผู้ป่วย เปลี่ยนปลอกหมอน การถอดและใส่ปลอกหมอน ทำเช่นเดียวกับการทำเตียงว่าง ให้ผู้ป่วยหนุนหมอนและจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
22.นำผ้าเปื้อนทิ้งลงถังผ้าเปื้อน
23.เช็ด หัวเตียง ตู้ข้างเตียงเก้าอี้ และจัดของให้ เป็นระเบียบเรียบร้อย
24.เติมน้ำในเยือกให้ใหม่ เปลี่ยนแก้วน้ำให้ใหม่
ล้างถังน้ำ ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
4) การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
จุดประสงค์
เตรียมรับผู้ป่วยหลังจากไปรับการผ่าตัด หรือการตรวจพิเศษ
2.เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยสำลักหรือลิ้นตก และเมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะอันตราย
วิธีปฏิบัติ
วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ แต่มีข้อแตกต่างคือ
1.ถ้าเตรียมรับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ให้พิงหมอนไวที่พนักหัวเตียง
2.พับผ้าคลุมเตียงซ้อนผ้าห่มทบไปมาไว้ที่ริมเตียง (fan fold) ด้านตรงข้ามที่จะรับผู้ป่วยขึ้นเตียง เพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้ายขึ้นเตียง
3.วางเครื่องใช้ต่าง ใกล้เตียงหากผู้ป่วยต้องงดน้ำและอาหารทางปาก ให้นำป้าย “งดน้ำและอาหารทางปาก” (NPO) ไว้ที่ปลายเตียง
หลักปฏิบัติการทำเตียง
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ป่วย
7.หากมีปูเตียงที่มีผู้ป่วยควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อนการปฏิบัติ
5.คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะทำ ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
3.วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวลและสม่ำเสมอ
ยึดหลักการทำเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
2.จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
เตรียมของพร้อมใช้ตามลำดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
3.2.8กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
1.การประเมินภาวะสุขภาพ
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
5.การประเมินผลการพยาบาล