Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, นางสาว พิชยา หนูจักร เลขที่ 6 36/2…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
กรณีที่มีการชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด โดยให้ยาระงับอาการชัก เช่นdiazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก
2.ให้ยาลดไข้ ร่วมกับ เช่น ตัวลดไข้ (เน้นขณะชักห้ามให้ยาชนิดรับประทาน)
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียด ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานทุกวันนาน 1-2ปี เช่น Phenobarbital, Depakine
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุการชัก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
-รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
-รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้ เช่น ผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
-รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet คือการจัดอาหารสัดส่วนที่มีปริมาณไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ โปรตีนต่ำ
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าคำแนะนำสำคัญสำหรับผู้ปกครองคือ
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวันนาน อย่างน้อย 2 ปีห้ามหยุดยาเอง แนะนำวิธีการป้องกันอุบัติเหตุขณะชัก
มาตรวจตามนัดเพื่อแพทย์ประเมินอาการและปรับระดับยากันชักให้เหมาะสม
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
สาเหตุ
-เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
-เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepitc meningitis)
-พยาธิ (Eosinophilic meningitis)
-เชื้อรา (Fungal memingitis)
อาการและอาการแสดง
-อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อ เช่น มีไข้
-ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
อาการแสดงของการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง คือ
คอแข็ง (Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
การรักษา
1.การรักษาเฉพาะ คือ ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลังที่เป็นสาเหตุ
2.การรักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ ให้ยานอนหลับ ให้ยากันชัก ให้ยาลดอาการบวมของสมอง ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำรักษาภาวะไม่
4.การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน เช่น Hib vaccine , JE vaccine,BCG
3.สมดุลย์สารน้ำและอิเล็คโทรลัยท์อาจต้องเจาะคอหรือใช้เครื่องช่วยหายใจในรายที่มีปัญหาการหายใจหรือหมดสติ
สมองอักเสบ (Encephalitis)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อปอราสิต
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน เช่น วัคซีนป้องกันโรคไอกรน หรือวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง (Stiffness of neck)
ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24 – 72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
1.ให้ออกซิเจน, เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
2.การให้ยา ระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง นอนหลับ
3.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
4.รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า – ออก ของร่างกาย
โรคไข้สมองอักเสบJapanese encephalitis (JE)
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ต่อไปอาการปวดศีรษะจะมากขึ้น มีอาการอาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
การรักษา
1.ต้องให้การดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit ให้ยาลดไข้
2.ลดการบวมของสมอง ระงับอาการชัก ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะบ่อยๆ
การป้องกัน
1) หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด ยุงนี้จะกัดเวลาพลบค่ำ
2) ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
3) ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน 3 ครั้ง ครั้งแรกเมื่ออายุ 1 ปีครึ่ง
ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 2-4 wk แล้วฉีดครั้งที่ 3 หลังจากฉีด
เข็มที่ 2 ได้ 1 ปี ควรจะเริ่มให้วัคซีนนี้พร้อมกับการให้ booster dose DTP และ OPV
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
-จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยสำลักเสมหะ น้ำลาย ไม่ผูกรัดหรือตรึงผู้ป่วย ขณะชักเพื่อป้องกันกระดูกหัก
-ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
-ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตรงตามแผนการรักษาในรายที่หายใจขัด เขียว
-ขณะชักให้งดอาหาร น้ำ ทางปาก ตามแผนการรักษา
โรคสมองพิการ(Cerebral Palsy)
สาเหตุ
1.ระยะก่อนคลอด ได้แก่ การมีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงระหว่างการตั้งครรภ์เดือนที่6-9 มารดาขณะตั้งครรภ์ขาดสารอาหาร มารดามีภาวะชักหรือมีภาวะปัญญาอ่อน
2.ระยะคลอด เป็นสาเหตุของสมองพิการร้อยละ 30 ได้แก่ สมองขาดออกซิเจน
3.ระยะหลังคลอด เป็นสาเหตุของสมองพิการร้อยละ 5 ได้แก่ การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด เส้นเลือดที่สมองมีความผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
ลักษณะอ่อนปวกเปียก อาจหายใจช้า พัฒนาการช้า เช่น การดูด การกลืน การเคี้ยว ทำให้สำลักนม
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ได้แก่ diazepam,baclofen
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การแก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและส่งเสริมให้เด็กฝึกทักษะการใช้ส่วนต่างๆของร่างกายตามความสามารถและศักยภาพอย่างเหมาะสม
การพยาบาล
1.ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากปัญหาการรับประทานอาหาร
2.เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัย เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
3.เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร้องด้านการเคลื่อนไหว/ระบบประสาท
บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
Hydrocephalus ภาวะน้ำคั่งใน โพรงสมองหมายถึงภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณเวนติดเคิล (ventricle)
สาเหตุภาวะน้ำคั่งโพรงสมอง
1.การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
ความยาวเส้นรอบวงศีรษะปกติ
แรกเกิด 35 เซนติเมตร
2 เดือน 35+4เซนติเมตร
4 เดือน 39+3 เซนติเมตร
6 เดือน 42+2 เซนติเมตร
8 เดือน 44+1 เซนติเมตร
10 เดือน 45+1 เซนติเมตร
1 ปี 45 เซนติเมตร
2ปี 47 เซนติเมตร
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (Shunt)
Ventriculo-peritoneal Shunt (V-P Shunt)
การให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง (Diamox)
VP Shunt
การพยาบาล
ประเมินอาการความดันในกระโหลกศีรษะสูง
วัดเส้นรอบวงศีรษะทุกวันเวลาเดียวกัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
การพยาบาลหลังผ่าตัด
1.มีปัญหาเหมือนก่อนผ่าตัดแต่เพิ่มเรื่องการดูแลแผล
2.ผ่าตัดและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดได้แก่1.การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด2.การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป (เน้นนอนราบ
หลังผ่าตัด ใน 24 ชม.แรก
Spina bifida การรักษา การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
กลุ่มอาการดาวน์ (Down ’s syndrome).
อาการและอาการแสดง
-กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
-หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
-คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
-หูติดอยู่ต่ำ
-brush field spot
-ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
การรักษา
-การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัยตั้งแต่อายุยังน้อย(early stimulation)
-การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย คือ โรคหัวใจระบบทางเดินอาหารอุดกั้น
Guillain Barre ‘s Syndrome
อาการและอาการแสดง
1.Sensation เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวดโดยเฉพาะปลายแขนปลายขา
2.motor กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Flaccid motorparalysis) ทั้งสองข้างสมดุลกัน อาการอัมพาตในGBS จะเริ่มต้นที่ขา เดินลำบาก และจะลุกลามขึ้นที่แขนและลำตัวด้านบน
อาการของประสาทสมอง โดยเฉพาะส่วนใบหน้า ประสาทสมองคู่ที่ 7 (Facaial nerve) พบความผิดปกติบ่อยที่สุด มีอัมพาตของหน้า ปิดตา และปากไม่สนิท
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ ส่วน medulla oblongata ที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะสำคัญและเส้นประสาท vagus
การรักษา
1.การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา (Plasma Exchange หรือPlasmapheresis)
2.การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin (IVIG) เป็นการรักษาที่สะดวกและง่ายกว่า และมีความเสี่ยงน้อยกว่าการแลกเปลี่ยนพลาสม่า แต่มีข้อเสียคือราคาแพงและมีโอกาสกับเป็นซ้ำได้มากกว่า plasmapheresis
3.การรักษาแต่เนิ่นๆ ภายใน2-4 สัปดาห์หลังจากเริ่มมีอาการครั้งแรกจะสามารถช่วยชีวิตได้เร็วขึ้น
วินิจฉัยการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
2.เสียงต่อการขาดสารอาหารจากไม่สามารถช่วยตนเองจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างสมบูรณ์
นางสาว พิชยา หนูจักร เลขที่ 6 36/2 612001086