Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แอปพลิเคชัน Labory - Coggle Diagram
แอปพลิเคชัน Labory
การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
เทคนิคการบรรเทาอาการเจ็บปวดในระยะคลอด
การเพ่งจุดสนใจ(Focal point)
2.การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ(Muscle Relaxation)
การเบี่ยงเบนความสนใจ
การกระตุ้นผิวหนัง
4.1. การลูบหน้าท้อง
4.2. การนวดหลัง
5.การควบคุมการหายใจ
5.1 ระยะปากมดลูกเปิดช้า ให้หายใจแบบช้าโดยใช้ทรวงอก(Slow Chest Breathing)
5.2 ระยะปากมดลูกเปิด 4-7 เซนติเมตร ให้หายใจแบบตื้นเบาเร็ว(Shallow Chest Breathing)
5.3 ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร ให้หายใจแบบตื้น และเป่าออก(Pant-blow Breathing)
การระงับความเจ็บปวดด้วยการใช้ยา
Parenteral Opioids
Regional Analgesia
Epidural Analgesia
Spinal analgesia
Combined Spinal Epidural analgesia
ความเจ็บปวดในระยะคลอดและการพยาบาลระยะที่1 ของการคลอด(สุกัญญา พนาพิทักษ์กุล, 2558) ความเจ็บปวดเป็นภาวะชับซ้อน เป็นความรู้สึกไม่สุขสบาย เป็นความรู้สึกเฉพาะบุคคลที่ประกอบด้วย ประสาทสัมผัส(sensory) และอารมณ์(emotion)
สาเหตุของความเจ็บปวดในการคลอด
ลักษณะของการเจ็บครรภ์คลอด
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับความเจ็บปวดในการคลอด
พฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวด
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
ภาวะแทรกซ้อนจากการเจาะถุงน้ำคร่ำ
ข้อห้าม
ภาวะแทรกซ้อน
Bishop score
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัย
หลักการทำ
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การบางตัวของปากมดลูก(Cervical effacement)
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การเปิดขยายของปากมดลูก(Cervical dilatation)
การบันทึกการเปิดขยายของปากมดลูก
:
4.ลักษณะของถุงน้ำและน้ำคร่ำ(membrane and liquor amnii or amniotic fluid)
Fetal presentation or presenting part(ส่วนนำของทารก)
การเร่งคลอด หรือ การชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้ในการชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้ด้านมารดา
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
ข้อห้ามของการชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้ด้านมารดา
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
ข้อห้ามของการชักนำการคลอด
ข้อห้ามด้านมารดา
ข้อห้ามด้านทารก
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการชักนำการคลอด
วิธีการชักนำการคลอด
วิธีการใช้ยา(medical induction)
วิธีทางศัลยกรรม(surgical induction)
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดเมื่ออายุครรภ์เกิน 28 สัปดาห์ หรือทารกในครรภ์มีน้ำหนักเกิน1,000 กรัม ด้วยวิธีการต่างๆซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะที่หนึ่งของการคลอด
การดูแลหญิงตั้งครรภ์
3.ดูแลเรื่องอาหารและน้ำ
การดูแลกระเพาะปัสสาวะ
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับการพักผ่อน
ท่าของผู้คลอด
การดูแลความสุขสบายทั่วไป
1.1 ให้การดูแลความสะอาดส่วนบุคคล
1.2 จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่
สัญญาณชีพ
การเตรียมร่างกายผู้คลอด
การตรวจทางทวารหนัก
วิธีการตรวจทางทวารหนัก
ข้อบ่งชี้
วัตถุประสงค์ของการตรวจ
ข้อห้าม
การเตรียมมารดาเพื่อการตรวจ
การสวนอุจจาระ
ข้อห้าม
วิธีการสวน
การตรวจทางช่องคลอด
ข้อห้าม
วัตถุประสงค์
ข้อบ่งชี้
วิธีการตรวจทางช่องคลอด
การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การเตรียมร่างกายผู้คลอด
การการหดรัดตัวของมดลูก และประเมินเสียงหัวใจของทารกในครรภ์
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
สิ่งที่ต้องประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
วิธีการประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ระยะเวลาในการประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการหดรัดตัวของมดลูก
แรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
สาเหตุของมดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ(hypertonic uterine contractions)
มดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน(uncoordinated contractions)
มดลูกหดรัดตัวมากผิดปกติชนิดหดรัดตัวไม่คลาย(tetanic contraction)
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอยคอดของทารก(constriction ring)
สาเหตุมดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
ผลกระทบต่อมารดาทารก
การดูแลรักษา
การพยาบาล
การหดรัดตัวของมดลูกที่ผิดปกติเฉพาะที่(Localized abnormalities of uterine action)
การประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
Baseline fetal heart rate
Variability
Early deceleration
4.Late deceleration
Variable deceleration
6.Acceleration
Link Title
ความหมายของการพยาบาลระยะที่หนึ่งของการคลอด
1.1 ความหมายของการพยาบาลระยะที่หนึ่งของการคลอด
ความหมาย
ระยะที่หนึ่งของการคลอด(first stage of labor หรือ stage of cervical effacement and diiatation) เป็นระยะที่เริ่มตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงหรือปากมดลูกเริ่มบางและเปิดขยายจนกระทั่งปกมดลูกเปิดหมดหรือเปิด 10 เซนติเมตร
แบ่งออกเป็น 2 ระยะตามการศึกษาของ ฟรายแมน(Friedman)
. ระยะปากมดลูกเปิดช้า(latent phase)
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว(active phase)
ระยะเริ่มเร่ง(acceleration phase)
ระยะเริ่มเร่ง(acceleration phase)
ระยะลดลง(deceleration phase)