Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ (พุทธศาสนิกชน) -…
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ (พุทธศาสนิกชน)
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
พุทธศาสนากับความจริงสูงสุด 4 ประการ
กฏไตรลักษณ์
(The three characteristics of existence)
ทุกขัง
อนัตตา
อนิจัง
อริยสัจ
(The four noble truths)
ทุกข์
สมุทัย
มรรค
ปฏิจสมุปท
กระบวนธรรมของจิต
ปฏิบัติการดับทุกข์
นิพพาน ( Nirvana )
ความดับองตัณหา
หลักปฎิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที
หลักปฎิบัติศีลธรรม
หลักคำสอนของศาสนา
โอวาทปาติโมทข์
การบำเพ็ญแต่ความดี
ศีล 5
ศีลข้อที่ 1
ปาณาติปานา เวรมณี
ไม่ฆ่าสัตว์
ศีลข้อที่ 2
อทินนาทานา เวรมณี
ไม่ลักทรัพย์
ศีลข้อที่ 3
กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี
ไม่ประพฤติผดในกาม
ศีลข้อที่ 4
มุสาวาทา เวรมณี
ไม่พูดเท็จ
ศีลข้อที่ 5
สุราเมรยมัชชาปทาทัฏฐานา เวรมณี
ไม่เสพของมึนเมา
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
ทุกข์จาก อาการของโรค
ทุกข์จาก ความวิตกกังวล
ทุกข์จาก ภาวะเศรษฐกิจ
พุทธศาสนากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
หมอขีวกโกมารภัจจ์
ยาคูปรุง
งา
ข้าวสาร
ถั่วเขียว
น้ำร้อนละลายด้วยน้ำอ้อย
การดูแลจิตใจ
พระมหาจุนทะสาธยาย โพชฌงค์
การฟังการบรรยาย
การดูแลจิตวิญาณ
มีสติ
ไม่ประมาณ
การดูแลด้านสังคม
การดูแลรักษาผู้อื่น
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อที่ 1
กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์
บริโภคอาหารเจ
ศีลข้อที่ 2
ไม่ก่อให้เกิดความเครียด
ความอิจฉาริษยา
ศีลข้อที่ 3
โรคทางเพศสัมพันธ์ุ
ศีลข้อที่ 4
การบอกความจริงของอาการเจ็บป่วย
ศีลข้อที่ 5
การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอออล์
มะเร็งปอด
ตับแข็ง
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
หลัก 7 ประการของการใช้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การให้ความรัก
กลัวการตาย
กลัวการถูกทอดทิ้ง
ช่วยให้เขายอมรับความตาย
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลอดเปลื้องสิ่งที่ค้างใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่างๆ
สร้างบรรยากาสที่เอื้อให้ใจสงบ
กล่าวอำลา
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลความทุกข์
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
เศร้าหดหู่
ความกลัว
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป
ไม่ประมาณ
คุณความความดี
ขั้นที่ 3 ให้รู้เท่าทันความตาย
ความสบายใจ
ปลอดโปร่ง
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย
พักผ่อนให้เต็มที่
บรรเทาอาการเจ็บปวด
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
การประคับประคอง
มีจิตใจไม่ฟั่นเฟือน