Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
วัฒนธรรมต่างๆทั่วโลก
พื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
เป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
เป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
มนุษย์นิยามความหมาย
เป็นความคิดร่วม (Shared ideas)
เป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ทางสังคมวิทยา
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
วัฒนธรรมที่แสดงออกถึงความดีงาน
ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกัน
เช่น ความคิด ความเชื่อ ภาษา ศีลธรรม ปรัชญา และกฎหมาย
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
สิ่งของหรือวัตถุประดิษฐ์ขึ้น
เช่น ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม ตึกรามบ้านช่องและถนนหนทาง
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา
องค์ประกอบ
องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
เช่น สถาบันทางสังคมต่างๆ
มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
ด้านความคิด ความเชื่อ
เช่น ความเชื่อในเรื่องบาปบุญ
องค์วัตถุ (Material)
มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ภาพเขียน สิ่งก่อสร้างต่างๆ
องค์พิธีหรือพิธีการ
(Usage หรือ Ceremony)
เช่น พิธีรับขวัญเด็ก พิธีโกนจุก หรือพิธีบวชนาค พิธีแต่งงาน พิธีงานศพ
ความสำคัญ
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
เป็นเครื่องกำหนดชีวิต
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยม
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
น้ำทะเลมีรสเค็ม
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การควบคุมทางสังคม
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านบุคคล
ศาสนา
อายุ
เพศ
อาชีพ
การศึกษา
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้
การเรียนรู้
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทำของผี
ความเจ็บป่วยเกิดจากเวทมนต์และคุณไสย
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากขวัญ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเคราะห์หรือโชคชะตา
วามเจ็บป่วยที่เกิดจากการละเมิดขนบธรรมเนียม
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากที่ตั้งของภูมิศาสตร์
วิธีการดูแลสุขภาพ
กลุ่มหมอสะเดาะเคราะห์
กลุ่มหมอธรรม
กลุ่มหมอดู
ลุ่มหมอตำรา
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเชื้อโรค
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากอุบัติเหตุ
วิธีการดูแลสุขภาพ
การทำพิธีตั้งขันข้าวหรือการตั้งคาย
พิธียอครูหรือบนครู
หมอสมุนไพร หมอเป่า หมอกระดูกหรือหมอน้ำมัน หมอนวด และหมอตำแย
แล้วถึงทำการวินิจฉัยโรค การรักษา จนถึงทำการปลงขัน
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
การเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค
ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติเหตุ
ความเจ็บป่วยเกิดจากจิตใจ
วิธีการดูแลสุขภาพ
ผู้ให้การดูแลด้านเภสัชกรรม
ผู้ให้การดูแลด้านการพยาบาล
ผู้ให้การดูแลด้านการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
ผู้ให้การดูแลด้านการฟื้นฟูสุขภาพ และบุคลากรอื่น ๆ
แพทย์หรือหมอที่
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
การเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะคลอดบุตร
เรื่องความเป็นสิริมงคล ท่าทางในการคลอด
ตรวจครรภ์ก่อนคลอด การคลอด การจัดการเกี่ยวกับรก การร่อนกระด้ง
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเรื่องมลทินของร่างกาย
ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องกรรม
ความเชื่อเรื่องสมดุลธาตุ 4
ความเชื่อเรื่องการบำรุงร่างกาย
การอยู่ไฟ การนาบหม้อหรือการทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร
การนวดหลังคลอด การเข้ากระโจมหรือการอบสมุนไพร
การอาบสมุนไพร การงดบริโภคอาหารแสลง การบำรุงร่างกาย
ระยะตั้งครรภ์
คนโบราณเชื่อว่าการตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ จะเกี่ยวกับสุขภาพจิต สุขภาพกาย การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
การเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ทารกได้ก่อกำเนิดขึ้นภายในมดลูก
มารดาและทารกสมบูรณ์แข็งแรง
ผ่านทุกระยะของกระบวนการให้กำเนิดได้อย่างปลอดภัย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ปัจจัยชี้บ่งถึงความชรา
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
ความแปรปรวนของธาตุลม
ภาวะหมดประจำเดือนในเพศหญิง
การดูแลสุขภาพ
การใช้สมุนไพร
การดูแลอาหาร
การดูแลด้านสุขภาพทางเพศ
การดูแลสุขภาพโดยพึ่งพิงศาสนา
การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
กำหนดอายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์เข้าสู่วัยชรา
การดูแลสุขภาพวัยชรา
การดูแลด้านโภชนาการ
การดูแลด้านฮอร์โมน
การดูแลด้านการออกกำลังกาย
การดูแลด้านการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลด้านอุบัติเหตุ
การดูแลด้านจิตใจ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
แบบพื้นบ้าน
ความเชื่อ
ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ กฎแห่งกรรม
การเวียนว่ายตายเกิดและชาติภพ
การดูแลสุขภาพ
มุ่งเน้นการตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณของผู้ตายและเครือญาติ
ให้สร้างสมความดีและผลบุญเพื่อการตายอย่างสงบ
แบบแพทย์แผนตะวันตก
การหยุดของหัวใจและแกนสมอง
ดูอวัยวะต่างๆที่ทำงานได้
สามารถทำงานต่อและยืดชีวิต
ภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
ค่านิยมทางสังคม
เป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นๆ
คนทางตะวันตกมองว่าคนเอเชียขาดความกระตือรือร้น
คนเอเชียก็มองว่าคนตะวันตกนิยมวัตถุและเห็นแก่ตัว
ปัจจัยทางสังคม
3) สถาบันศาสนา
4) สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
2) โรงเรียน
5) สื่อมวลชน
1) ครอบครัว
6) องค์การของรัฐบาล
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษา
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหา
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
แนวคิดหลัก 5 ประการ
Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
การแสวงหาความรู้
มีองค์ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรม
Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม
บุคลากรสุขภาพมีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสม
มีการสื่อสารทั้งทาง วัจนภาษา และอวัจนภาษา อย่างถูกต้องเหมาะสม
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม
การมีความไวทางวัฒนธรรม
การเรียนรู้วิธีประเมินความต่างทางวัฒนธรรม
การเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
สร้างความร่วมมือกับผู้รับบริการ
ให้ได้ข้อมูลแท้จริงของผู้รับบริการ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และครอบคลุม
Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เข้าไปสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
การให้คุณค่า ความเชื่อ
วิถีชีวิต พฤติกรรม
กระบวนการรู้คิดของ
ธีการแก้ปัญหาของผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
สภาวะปกติ
ความหมาย
แบบแผนทางวัฒนธรรมของสังคมที่มีกำหนดขึ้น
เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของคนในสังคม
การป้องกันโรค
การคว่ำกะลาหรือใส่ทรายอะเบท
การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก
การส่งเสริมสุขภาพ
การกินอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้มและอาหารจากธรรมชาติ
การออกกำลังกาย การเข้าวัด ถือศีล ทำสมาธิ ทำบุญตักบาตร งดบริโภคสุราและสิ่งเสพติด
ผิดปกติ
การรักษาโรค
แบบพื้นบ้าน
แบบวิชาชีพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
การงดบริโภคอาหารแสลง
การออกกำลังกาย
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ