Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ, นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
Induction of Labour การชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้
PIH : Preeclampsia-eclampsia
Postterm pregnancy
DFIU, IUGR, PROM
Choroamnionitis
Aruptio placenta
Oligohydramnios
Hydrops fetalis
ข้อห้าม
ด้านมารดา
Placenta plevia - Vasa plevia
Previous C/S
CPD
Prolapsed cord
เน้ืองอกขวางทางคลอด
ด้านทารก
Fetal distress
Twins
ผิดท่า : ขวาง หน้า ก้น
เป็นการทาให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงเมื่อ GA > 28 wk, EFW > 1000 g. โดยกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวก่อนที่จะมีการเจ็บครรภ์คลอดตามธรรมชาติ
วิธีการชักนาการคลอด
Surgical
Striping of Membranes
ใช้ 2 นิ้วกวาดหมุนโดยเซาะแยกถุงน้า ออกจากส่วนล่างของมดลูก
Amniotomy
ทำใน Bishop score > 6
NC : obs. FHS stat หลังเจาะ
Medical
Oxytocin 10 u + 5% DW 1000 cc. for Good uterine contraction
Protaglandin E1 : 25-50 mg q 3-6 hr. ไม่เกิน 300-400 /day
Protaglandin E2 : 10 mg q 6 hr.
Forcep Extraction
ส่วนประกอบ
Shank : ก้าน
Lock : ล็อก
Handle : ด้าม
Blade : ใบคีม
Fenestrate : รูตรงกลางใบคีม
Cephalic curve : แนบหัวทารก
Pelvic curve : โค้งขนานช่องเชิงกราน
ประเภท
Short curve forcep : station ≥ 0
Long curve axis traction forcep < 0
Kielland forcep ใช้หมุน
หน้าที่
Rotation
กรณี Deep transverse arrest of head ใช้ Kielland forcep
Exteactor
ท่าหัวใช้ Simson forcep ท่าก้นใช้ Piper forcep
ชนิดการทำ
ท่าหัวใช้ Simson forcep ท่าก้นใช้ Piper forcep
Low forcep
Fetal head at Pelvic floor Sagital suture : AP diameter Scalp visible at introitus
ข้อบ่งชี้
ภาวะที่ทำได้
Engage > Vertex/Face > position > fully dilate > MR>NoCPD
ทารก
Prolapsed of umbilical cord
Abruptio placenta
Fetal distress
มารดา
Heart disease
Acute Pulmonary Edema
Intrapartum Infection
Maternal Exhausion
Prolonged second stage:
หลักการ
ใส่เข้าไปและดึงออกมาได้ทันที แม่ไม่ต้องแบ่งช่วย แต่ต้องมีพื้นท่ีว่างพอ
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ทางคลอดฉีก เชิงกรานแยก กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ปวดมาก ช็อค ตกเลือด ติดเชื้อ
ทารก
Asphyxia คีมกดส่งผลต่อ กะโหลก สมอง เส้นประสาท เกิด Erb’s Palsy, Facial Palsy, หูหนวก ปวดบวม ถุงลมแฟบ
การพยาบาล
ประวัติการคลอด : ซักประวัติ
ตรวจหน้าท้อง, ช่องคลอด, V/S, FHS : ตรวจร่างกาย
วิตกกังวล กลัว : ภาวะจิตสังคม
Vacuum Extractor
ข้อบ่งชี้
มารดา
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
ระยะที่ 2 การคลอดยาวนาน ภาวะแทรกซ้อน : PIH, Heart, Shock
ทารก
การหมุนศีรษะผิดปกติ Fetal distress ที่ไม่รุนแรง
ส่วนประกอบ
Vacuum cup : 30,40,50,60 mm
แผ่นโลหะ, โซ่, หมุด
Traction bar/handle
Suction tube
เครื่องดูด สูญญากาศ
หลักการ
เสริมแรงหดรัดตัวมดลูก กระตุ้นปากมดลูก กินเน้ือที่น้อย Autorotation
การพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมร่างกาย จิตใจ เตรียมเครื่องมือ เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ
ขณะทำ
Obs. FHS q 15 min Obs. U/C Obs. Fetal distress ลดความดัน
หลังทำ
ให้ Oxytocin + สารน้า
Obs. V/S, U/C ให้กระเพาะปัสสาวะว่าง ประเมิน Bleeding ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารก
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
การบาดเจ็บช่องทางคลอด การฉีกขาดของแผลฝีเย็บ อาจเกิดปากมดลูกฉีกขาด
ทารก
Cephal hematoma
Caput succedaneum กะโหลกแตก อันตรายต่อสมอง เลือดออกท่ีจอตา
ข้อห้าม
ทารกท่าผิดปกติ เจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด สายสะดือพลัดต่า
ยังไม่ Engagement
Fetal distress
ภาวะที่ทำได้
ส่วนนาเป็นศีรษะ หรือ ก้น ปากมดลูกเปิด ≥ 8 cm Station ≥ 0, MR ทารกครบกาหนด ยังมีชีวิต No CPD กระเพาะปัสสาวะว่าง
Breech assisting การช่วยคลอดท่าก้น
สาเหตุ
มารดา
CPD
Placenta previa
Tumor
Polyhydramnios
ผนังหน้าท้องหนา หย่อนยาน
ครรภ์หลัง
ทารก
Hydrocephalus
ภาวะน้าคร่ำมาก
ทารก
Preterm labor
ทารกตัวเล็ก
ผลกระทบ
มารดา
ช่องทางคลอดฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
ทารก
ทารกขาดออกซิเจน
กระดูกหัก ข้อเคลื่อน
อวัยวะในช้องท้องฉีกขาด
เลือดออกในสมอง
ชนิดของท่าก้น
Frank breech
ท่าก้นที่ทารกงอสะโพกและเข่าเหยียดตรง เป็นชนิดท่ีพบบ่อย สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
Complete breech
ท่าก้นที่ทารกงอสะโพก งอเข่าทั้ง 2 ข้าง หรือท่าขัดสมาธิ ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอด ต้องผ่าตัดคลอด
Incomplete breech
ท่าก้นไม่สมบูรณ์ เป็นท่าท่ีส่วนใดส่วนหน่ึง ของขาอยู่ต่ากว่าก้นกก
มีเท้าข้างหนึ่งยื่นออกมา : Single footling
มีเท้า 2 ข้างยื่นออกมา : Double footling
งอเข่า เข่าเป็นส่วนนามาก่อน : Knee presentation
Cesarean Section
ชนิดการผ่าตัด
Cesarean Section
ข้อเสีย
เลือดออกมาก, ท้องอืด, Peritonitis
Postoperative adhesion ผังผืด
ข้อดี
เป็นวิธีท่ีง่ายท่ีสุด
Lower-segment cesarean
ข้อดี
เลือดออกน้อย, Peritonitis น้อย Postoperative adhesion ผังผืดน้อย
ข้อเสีย
ใช้เวลานาน การตัดแบบตรง อาจฉีก ขาดถึง Upper uterine segment
หรือ อาจขาดถึงกระเพาะปัสสาวะ ด้านล่าง
ภาวะแทรกซ้อน
Infection
เสียเลือดมาก
ภาวะแทรกซ้อนจากยาสลบ
การเตรียมมารดา
ประเมินสภาพมารดาและทารก
อธิบายสาเหตุ ความจาเป็นและขั้นตอนการทำ
อธิบายเกี่ยวกับการใช้ยาระงับความรู้สึก
ประเมินความวิตกกังวลและให้ระบายความรู้สึก
อธิบายก่ียวกับ Electrocoagulation
อธิบายสิ่งท่ีอาจเกิดข้ึนหลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ป้องกันการตกเลือด
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากยาสลบ
ดูแลบรรเทาความเจ็บปวด
ป้องกัน Dehydration fluid over load
ป้องกันปัญหาขับถ่ายปัสสาวะ
ป้องกันภาวะท้องอืด
ป้องกันการติดเชื้อ
ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารก
ข้อบ่งชี้
Contracted pelvic
Pelvic tumors, CA
Total placenta previa
Abruptio placenta
CPD, Macrosomia
Fetal distress
Previous C/S
Severe preclampsia
Uterine dysfunction
การผ่าตัดทางหน้าท้อง เพื่อน าทารกออกจากมดลูก
ยาระงับความรู้สึก
Spinal block, Epidural block, GA
Manual remove of placenta การล้วงรก
หลักการ
ถ้ารกคลอดแล้ว แต่ไม่แน่ใจว่าครบหรือไม่ ควรเช็คด้วย U/S ว่ามีเศษรกค้างหรือไม่
ถ้ารกคลอดไม่ครบหรือมีรกค้าง ให้ขูดมดลูก ด้วย Curet ตัวใหญ่ หรือ Ring forceps และทาด้วยความระมัดระวัง
ทำโดยแพทย์เท่านั้น
ภาวะแทรกซ้อน
เสียเลือดมาก ตกเลือด ช็อก
มดลูกฉีกขาด มดลูกทะลุ
ช่องทางคลอดฉีกขาด
การทำ
ใช้มือซ้ายจับสายสะดือไว้
ใช้มือขวาสอดเข้าไปจนถึงบริเวณรกเกาะ
มือซ้ายเปลี่ยนมาจับท่ียอดมดลูก
มือขวาคลาหาขอบรกและค่อยๆเซาะรก
เมื่อรกลอกตัวหมดแล้ว มือซ้ายบีบไล่รกลงมา
เมื่อรกคลอดใช้ปลายนิ้วหรือกอซพันปลายนิ้ว
ขูดผนังด้านในโพรงมดลูก เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีรกค้าง
และสามารถตรวจหามดลูกทะลุได้ด้วย
การพยาบาลหลังรกคลอด
Obs. V/S ตามมาตรฐานการผ่าตัด
แนะนาคลึงมดลูก Obs. Bleeding
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผน
ดูแลไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ให้ยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษา
นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034