Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพความเชื่อทางศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพความเชื่อทางศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพระพุทธศาสนา
ศีล 5
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความ ประมาท
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศาสนาพุทธ
ปฏิจจสมุปบาท หมายถึง กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไป แห่งทุกข์ หรือจางคลายจากทุกข์ตามควรแห่งฐานะตน เพื่อความสุขจากการพ้นทุกข์
นิพพาน
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกําหนัด กําจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ํา ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้า มิใช่อาทิตย์-ดวงจันทร์ ในอายตนะไม่ มีไป-มา ไม่มีตั้งอยู่ ไม่มีเกิด-ตาย เป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
อริยสัจ
มรรค
สมุทัย
นิโรธ
ทุกข์
กฏไตรลักษณ์
ทุกขัง
อนัตตา
อนิจจัง
หลักปฏิบัติศีลธรรม
หลักปฏิบัติศีลธรรม เป็นหลักคําสอนสําคัญของศาสนา ได้แก่ โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทําความชั่วทั้ง ปวง การบําเพ็ญแต่ความดี การทําจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์ เพื่อการ ดํารงอยู่อย่างปกติสุข ดังนั้นทุกคนจึงมีหน้าที่ต่อกันด้วยการปฏิบัติตามหลักจริยธรรมของพระพุทธเจ้า คือการ ปฏิบัติหน้าที่ต่อกัน
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์อยู่ในภาวะเจ็บป่วย มนุษย์ประสบความทุกข์ ผู้ให้การ ดูแล/พยาบาล/รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อการบรรเทา/ดับทุกข์ ตามความสามารถและความเหมาะสม ผู้ป่วยต้อง เข้าใจเรื่อง ความทุกข์ด้วยว่ามนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิด แก่ เจ็บ ตายได้ ผู้ป่วยเมื่อยามเจ็บป่วย ต้องรู้จัก ทําใจให้สงบ ร่วมมือกับผู้ให้การดูแล/รักษา เพื่อทําให้ทุกข์ บรรเทาเบาบาง/หมดไป
ศาสนา
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนําชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคําสอน
พุทธศาสนากับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
การดูแลรักษาด้านสังคม
การนำผลการปฏิบัติศีล5มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี และ กลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบันถึงแม้ว่าความเจริญทางด้านการแพทย์จะผลิตยาต้าน เชื้อได้ในราคาถูกและผู้ติดเชื้อเข้าถึงยาได้ง่าย ผลข้างเคียงของยาที่ไม่พึงประสงค์ (side effect) ก็ยังทําให้คุณภาพ ชีวิตไม่ดีเท่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นกลยุทธ์ของการรณรงค์ผู้ติดเชื้อรายใหม่ใชวิธีการประชาสัมพันธ์ “รักเดียวใจเดียว ไม่เกี่ยวข้องเอดส์”
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหกพูดไม่จริงเป็นสิ่งที่ทําให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริงดังตัวอย่างตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไมแ่จ้งความจริงกับ ภรรยาของตนเอง ทําให้ภรรยานนั้นไม่ได้ป้องกัน โอกาสที่ทําให้ติดเชื้อมีความเสี่ยงสูงมาก เมื่อติดเชื้อแล้วกว่าจะ ทราบความจริงก็เป็นผู้ป่วยเอดส์เสียแล้ว นอกจากส่งผลด้านร่างกาย ด้ายจิตใจ และส่งผลต่อครอบครัว
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การเป็นคนดีที่มีศีลธรรม ข้อปฏิบัติ คือ การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิด ความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อาจถึงขั้นร้ายแรง คือ ต้องรับโทษทางกฎหมาย หรือเครียดจนเกิดโรคทางจิตเวช โอกาสเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสําเร็จในที่สุด
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
เมื่อดื่มสุรา เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์ นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองแล้ว เช่น อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งของท่อน้ําดี มะเร็งปอด เป็นต้น การเกิดโรคมะเร็งปอดที่มีสาเหตุมาจากการเป็นผู้ สูบบุหรี่มือสอง คือ การได้รับจากผู้สูบมือหนึ่งที่เป็นคนใกล้เคียง และสิ่งแวดล้อมที่เป็นมลภาวะ (pollution environment) ของระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น
ดังนั้น คนเราเมื่อประพฤติปฏิบัติต
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ กล่าวว่า “กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์”
การบริโภคพืชผัก ก็ควรต้องเลือกผักอินทรีย์ หรือผัดปลอดสาร ซึ่งมองดูเหมือนจะป้องกันได้ง่าย แต่ อย่างไรก็ตามโลกใบนี้ก็ยังใช้สิ่งแวดล้อมร่วมกัน มลพิษในอากาศและน้ําก็ยังคงมีผลกระทบได้เช่นกัน การได้รับ สารเคมีที่เป็นพิษต่อร่างกาย อาจเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ ได้ เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งกระเพาะ อาหาร เป็นต้น
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดทายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสนา
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่ เซลล์ในร่างกายตายวันละห้าหมื่นเซลล์ ความตายจึงมีอยู่ตลอดเวลา
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตาย ว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี ซึ่งได้แก่ พระรัตนตรัยและความดีที่ได้ทํามา
ความตายมีทั้งมิติร่างกายและทางจิตวิญญาณ
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด ทางพระพุทธศาสนากล่าวว่า
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้ โดยผู้ป่วยสามารถฝึกจิตเองหรืออาจอาศัยสภาพแวดล้อมช่วย
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อมๆกันที่แน่นอน คือ ทุกคนต้องตาย แต่ที่ไม่แน่นอน คือ ไม่ทราบว่าจะตายเมื่อไหร่
หลัก7ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะสุดท้าย
4.ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ เช่น การแบ่งมรดก ความรุ้สึกผิด
5.ช่วยปล่อยวางสิ่งต่างๆแม้บางคนอาจไม่ม่สิ่งที่ค้างคาใจที่เป็นกุศล แต่ก็ปล่อยวางทุกสิ่งเช่นกัน
3.ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
6.สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
2.ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง การพูดจาให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
7.กล่าวคำลา หากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ก้ควรกล่าวคำอำลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดีๆที่เขาทำให้กับทุกคน
1.การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง เช่น กลัวถูกทอดทิ้ง
คตินิมิต หมายถึงเครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น ในเวลาเมื่อใกล้จะตาย ถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิมี นรก เปรต อสุรกาย ดิรัจฉาน จะต้องเห็นเครื่องหมายที่จะไปเกิด เช่น เห็นกระทะทองแดง เห็นเหว เห็นหอก เห็นดาบ เห็นป่าไม่ เห็นภูเขาเหล่านี้ หมายถึงอบายภูมิ ถ้าจะไปเกิดเป็นมนุษย์ ต้องเห็นมารดา ถ้าไปเกิดเป็นเทวดา ก็เห็นปราสาท เห็นวิมาน เป็นต้น
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
สิทธิการให้คนไข้ใกล้ตายรับรู้ตนเองเป็นอะไร ต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
ต้องเริ่มตั้งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุกๆด้าน
กรรมนิมิต คือเครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม ในเวลาใกล้จะดับจิตกรรม ดีและกรรมชั่วที่ได้กระทําไว้แล้วนั้นแหละ จะมาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้านิมิตที่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ ไปดีถ้านิมิตรไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ สำหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย ซึ่งมีคติเนื่องอยู่ในธรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป เป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว
กรรมอารมณ์ คือ อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม เวลาใกล้จะดับจิต อารมณ์อันนั้นแหละจะมาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย ถ้าอารมณ์ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปได้ ถ้าอารมณ์ ไม่ดีเกิดขืนในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย
การพยาบาลด้านจิตใจและวิญญาณ