Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต…
บทที่ 8 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะโกรธ (Anger) : อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
ระยะต่อรอง (Bargaining) :ต่อรองกับตัวเอง คนรอบข้าง สิ่งศักดิ์สิทธิ์
ระยะปฏิเสธ (Denial) : ตกใจ ช็อค ปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้ ไม่เชื่อ ไม่ยอมรับความจริง
ระยะซึมเศร้า (Depression) :ผ่านระยะปฏิเสธ เสียใจ ระยะต่อรอง จะรู้สึกซึมเศร้า
ระยะยอมรับ (Acceptance) : มองเป้าหมายและปรับตัว
บทบาทพยาบาล
ให้ความเคารพผู้ป่วย เข้าใจ เห็นใจ
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
ประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
ให้ข้อมูลที่เป็นความจริง
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย ควบคุมความปวด
สร้างสัมพันธภาพ ประเมินการรับรู้ของครอบครัว สอบถามความรู้สึกและความ ต้องการการช่วยเหลือ
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
ผู้แจ้งข่าวร้าย : แพทย์เจ้าของไข้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสมเนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วย รุนแรงได้
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
หวาดกลัวต่อสิ่งต่างๆเนื่องจากขาดสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ
End of life care in ICU
ข้อสังเกต palliative care
อาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่า
ดูแลน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
ความแตกต่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว: ไม่ได้เตรียมตัวรับมือภาวะสุขภาพทรุดเฉียบพลัน
ความไม่แน่นอนของอาการ
Professional culture : เจ้าหน้าที่หมดไฟ และกังวล
Multidisciplinary team : ไม่ได้มองผู้ป่วยแบบองค์รวม
ผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มถูกละเลย
ทรัพยากรมีจำกัด ควรพิจารณาใช้กับ ผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษาให้อาการดีขึ้น
สิ่งแวดล้อมเสียงดังและวุ่นวาย
หลักการดูแลผู้ป่วย
ปรึกษาทีม palliative care
ลดการรักษาที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
ลดการเกิดปัญหาระหว่างทีมสุขภาพกับครอบครัว
ลดอัตราการครองเตียงในไอซียูได้
ลดการเกิด “ICU strain”
เป็นทีมที่ชำนาญมีความรู้
ดูแลต่อเนื่องหลังจากออกจากไอซียู
แบบผสมผสาน : แพทย์สามารถในการดูแลแบบ palliative care
ABCD
Behavior
Compassion
Attitude
Dialogue
องค์ประกอบของการดูแล
เน้นการจัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆให้เต็มที่
การตั้งเป้าหมายการรักษา
ทำทุกอย่างเต็มที่ เพื่อให้ผู้ป่วยรอดชีวิตให้นานที่สุด
ลองทำดูก่อน ถ้าตอบสนองไม่ดี อาจพิจารณายุติการรักษาบางอย่าง
มุ่งเน้นให้สุขสบาย ไม่ทำให้เกิดความทุกข์ทรมานกับผู็ป่วยเพิ่มขึ้น
Surprise question รับได้ ให้palliative care
Family meeting
คำนึงถึงความปรารถนาของผู้ป่วยในทุกๆการตัดสินใจ
การสื่อสาร
ฟังอย่างตั้งใจเห็นอกเห็นใจและให้เสนอความคิดเห็น
เน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
ปล่อยให้มีช่วงเงียบให้ทบทวน
การเริ่มประชุมครอบครัวควรทำอย่างช้าที่วันที่ 3 และวันที่ 5
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต
ทำความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกายผู้ป่วย
ยุติการรักษาที่ไม่จำเป็น
ปิดม่านหน้าต่างให้มิดชิด
ให้มอร์ฟน ยานอนหลับกลุ่ม benzodiazepine
ปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่างๆ
เยี่ยมผู้ป่วยบ่อยๆ ประเมิณความสุขสบาย
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง
มีการสื่อสารที่ดี
ดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิด
ไม่ควรพูด “ไม่เป็นไร” “ไม่ต้องร้องไห้”
จัดทำโดย นางสาววรกาญจน์ กวินรัตน์ชัย 6001210873 B