Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ทางสูติกรรม - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
ทางสูติกรรม
1. การใช้ยาในระยะตั้งครรภ์
:<3: ยาที่ใช้บ่อย
ยาแก้แพ้ท้อง
(Antinauseants)
Antihistamines เช่น Dramamine (Dimenhydrinate), benadryl (Dymenhydramine)
Major tranquilizer เช่น phenergan,
lagactil, stemetil
Vitamin B6 (pyridoxine)
Steroid Hormone
2.1 Sex hormone ได้แก่
progesterone, estrogen,
androgen, progestin
ใช้ในขณะตั้งครรภ์
ทดสอบการตั้งครรภ์
รักษาการทํางานของ corpus luteum บกพร่อง
ป้องกันภาวะแท้งคุกคาม, แท้งเป็นอาจิณ
ป้องกันการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
ใช้ในหลังคลอด
ยับยั้งการหลังน้ำนม
คุมกําเนิด
2.2 Corticosteroids
ใช้กระตุ้นปอดทารกในครรภ์ให้เร่งสร้างสาร
Surfactant ในทารกคลอดก่อนกําหนด
ยาที่ใช้ในการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
ก่อนกําหนด (Tocolytic drugs for preterm labor)
3.2 MgSo4
ข้อบ่งใช้
ใช้ในกรณีเดียวกับ β – 2 sympathominetics
แต่สามารถใช้ในมารดาที่เป็น DM,HT, Heart ได ้
ผลกระทบต่อมารดา
ร้อนบริเวณที่ฉีดและทั่วร่างกาย, ท้องอืด,
hypokalemia, pulmonary edema
ผลกระทบต่อทารก
hypermagnesemia, ซึมลง, อ่อนแรง, ท้องอืด
3.1 กลุ่ม Beta-adrenergic
receptor agonists
Salbutamol
Terbutaline
นิยมใช้ในไทย
ใช้ในกรณีมารดาอายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์
ที่มีอาการเจ็บครรภ์ คลอด
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคหัวใจ, ครรภ์แฝดหรือครรภ์แฝดน้ำ, Severe hypovolemia, มีการติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ, มีภาวะ Fetal distress
- S/E
ได้แก่ ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความดันโลหิตต่ำ ปวดศีรษะ น้ำท่วมปอด
มีความผิดปกติของการเผาผลาญ
- เฝ้าระวัง
ตรวจชีพจรไม่เกิน 140 ครั้ง/นาที,
ภาวะ Hypotension, Pulmonary edema,
Hyperglycemia, Fetal distress,
Postpartum hemorrhage (PPH)
Ritodrine
ยาป้องกันการชัก MgSo4
ข้อบ่งชี้
ใชป้องกันการชักใน severe
pre-eclampsia, eclampsia
การบริหารยา
Continuous Intravenous infusion โดยให้ loading dose 10 % MgSO4 4 g
ในน้ำ 100 ml ในเวลา 1 hr แล้วต่อด้วย maintainance dose ในขนาด 1 – 2 g/hr
Intramuscular ให้ loading dose ด้วย 10 % MgSO4 4 g เข้าหลอดเลือดดําช้าๆ ใน
10-15 นาที พร้อมกับฉีด 50 % MgSO4 10 g เข้าสะโพก maintainance dose คือ 50 %
MgSO4 5 g เข้าสะโพก ทุก 4 hr
ข้อห้าม
reflex ไม่มีหรอืลดลง
หายใจน้อยกว่า 16 ครั้ง/นาที
ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100 cc/4hrs.
ผลกระทบต่อมารดา
respiratory arrest, cardiac arrest, absence of reflex
ผลกระทบต่อทารก
respiratory depression, hypotonia
Antibiotic
Tetracycline ถ้ามารดาได้รับยานี้ 2 เดือนก่อนคลอด
จะทำให้ฟันแท้ของทารกมีสีเหลืองน้ำตาล
Streptomycin ทำให้ทารกหูหนวก
Gentamycin มีผลต่อไต
Kanamycin มีความผิดปกติที่กระดูก ไต หู
Chloramphenical ทำให้เกิด grey syndrome ในทารก
Sulfonamide ทำให้เกิด kerniterus ในทารก
Nitrofurantoin ทำให้เกิด anemia, G6PD ในทารก
Immunoglobulin and Vaccine
• Anti-D immunoglobulin ช่วยป้องกันการเกิด isoimmunization ในมารดาที่ Rh –ve
• Tetanus toxoid
:<3: ปัจจัยสําคัญที่มีบทบาทในการกําหนด
การเกิดความผิดปกติของทารกในครรภ์
1.ชนิดและขนาดของยา
2.ระยะเวลาที่ได้รับยา
3.Genetic constitution
4.สภาวะของมารดาทั้งทาง
physiological และ pathological
:<3: ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งผ่านยา
ไปสู่ทารกในครรภ์
ความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของยาในมารดาและทารก
ขนาดโมเลกุลของยา
สภาพไร้ประจุของยา
ความสามารถในการละลายในไขมัน
การจับกับโปรตีนของยา
ความแตกต่างในความเป็นกรดด่างของเลือดมารดากับทารก
การไหลเวียนของกระแสเลือดในตัวมารดากับทารก
ความหนาของรก
ความสามารถในการเปลี่ยนยาของรกจาก active เป็น inactive form
2. การใช้ยาในระยะคลอด
:recycle: ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Oxytocin
:checkered_flag: ข้อบ่งชี้
ยุติการตั้งครรภ์
ป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด
การชักนำการคลอด
ทดสอบสุขภาพทารกในครรภ์
:checkered_flag: ข้อห้ามใช้
ทารกท่าผิดปกติ, fetal distress
มารดาที่มีบุตร 5 คนขึ้นไป
มารดาที่มีรกเกาะต่ำ
มารดาที่เคยผ่าตัดคลอดบุตร
CPD, ติดเชื้อหรือมีก้อนเนื้อที่ช่องคลอด
ไม่ควรใช้ในมารดาที่อายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์
:checkered_flag: ผลต่อมารดา
ทำให้มดลูกหดรัดตัวรุนแรง (Tetanic contraction)
อาจทำให้มดลูกแตกได้
มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาจทำให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียนในระหว่างได้รับยา
มดลูกหดรัดตัวแรงทำให้เกิดการคลอด
ฉับพลันทันทีและปากมดลูกฉีกขาดได้
:checkered_flag: ผลต่อทารก
ทารกมีภาวะตัวเหลือง (Hyperbilirubin)
มดลูกหดรัดตัวรุนแรงอาจทำให้ทารก
ในครรภ์ขาออกซิเจน (Fetal distress)
มีภาวะ Acidosis จนเสียชีวิตได้
Ergot alkaloid
:warning: ข้อห้ามใช้
ความดันโลหิตสูง โรคของหัวใจและหลอดเลือด
ติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis)
โรคไตและตับ
ห้ามฉีดก่อนรกคลอด
:warning: ภาวะแทรกซ้อน
คลื่นไส้ อาเจียน, ปวดศีรษะ
มารดาที่เป็นโรคหัวใจอาจเกิด
coronary vasospasm
หรือ heart failure
เกิดภาวะเนื้อตายเน่าที่นิ้วมือนิ้วเท้า
ความดันโลหิตสูงขึ้นกว่าเดิม 10% มารดา
ที่เป็นความดันโลหิตสูงอาจมีอาการชัก
หรือ hypertensive encephalopathy
Prostaglandins
:black_flag: ข้อบ่งชี้
ทำให้ปากมดลูกนุ่มและเปิดกว้างขึ้น
ก่อนการทำแท้งและก่อนก่อให้เกิดการเจ็บครรภ์
รักษาภาวะ PPH
:black_flag: การบริหารยา
สอดยา
รับประทานยา
:black_flag:ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
คลื่นไส้อาเจียน, ท้องเดิน, หนาวสั่น, Hyperstimulation
:black_flag: ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจน (Fetal distress)
:black_flag: ข้อห้าม
มารดาเป็นโรคปอด, หอบหืด, ความดันโลหิตสูง,
โรคต้อหิน, โรคตับ, ไตวาย, ผู้คลอดที่มีประวัติเคยผ่าตัด
ที่ตัวมดลูก, ครรภ์แฝด, ตั้งครรภ์มากกว่า 4 ครั้ง
:recycle: ยาระงับความเจ็บปวดในระยะคลอด
ยาระงับความเจ็บปวดชนิดทั้งระบบ
(General anesthesia)
:star: ประเภท
- Sedative drug
ใช้ในระยะคลอด – ใช้ในระยะปากมดลูกเปิดช้าจนถึง 3 cm
เพื่อให้ผู้คลอดลดความตึงเครียด สงบ ช่วยให้พักผ่อนได้ ได้แก่ ยา pentobarbital,
secobarbital, scopolamine
- Tranquilizer
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ช่วยลด
ความวิตกกังวล ช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัว นอนหลับได้ รวมทั้งช่วยลด
อาการคลื่นไส้ อาเจียน ได้แก่ ยา promazine, diazepam, promethazine
- Narcotic analgesic drugs
การใช้ในระยะคลอด – ใช้ระงับความเจ็บปวด
อย่างรุนแรงในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว จะทำให้ผู้คลอดผ่อนคลายและเพิ่มการ
หดรัดตัวของมดลูกทำให้ปากมดลูกเปิดเร็วขึ้น ได้แก่ morphine, pethidine
และ meperidine ทำให้เสพติดได้
:star:ผลต่อมารดา
ทำให้เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
กดการหายใจ หัวใจเต้นช้า ความดัน
โลหิตต่ำ เหงื่อออกมาก
เป็นลม และปัสสาวะคั่ง
:star: ผลต่อทารก
กดการหายใจทารกแรกเกิด
ยาที่ใช้แก้เด็กคือ naloxone,
หัวใจเต้นช้าลง, อุณหภูมิของ
เด็กลดลง
การให้ยาชาเฉพาะที่สกัดกั้นประสาท
(Regional anesthesia)
:red_flag:ข้อดี
ไม่กดการหายใจของทารกในครรภ์
และกล้ามเนื้อคลายตัวได้ดี
:red_flag:ข้อห้ามใช้
มีภาวะเลือดไม่แข็งตัว ความดันโลหิตต่ำ
จากการเสียเลือดมาก มีการติดเชื้อ
มีก้อนบริเวณที่จะฉีดยา ความดัน
ในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นสูง
:red_flag:วิธีการให้ยา
การฉีดยาชาเฉพาะที่
ช่วยระงับอาการปวดขณะคลอด ควรฉีดยา
ก่อนตัดฝีเย็บหรืออาจฉีดหลังคลอดตงตำแหน่ง
ที่ฉีกขาดเพื่อจะเย็บซ่อมแซม ยาที่ใช้ได้แก่
xylocaineควรใช้ยาในปริมาณพอเหมาะเพื่อ
ไม่ให้ทารกหัวใจเต้นช้าลง
การฉีดยาชาสกัดกั้นประสาท
บริเวณข้างปากมดลูก
เป็นการฉีดยาให้ออกฤทธิ์ที่ sensory
nerve fibers ข้างๆปากมดลูกเพื่อระงับ
อาการปวดจากการหดรัดตัวของมดลูก
ในระยะที่ 1 ของการคลอด จะเริ่มทำเมื่อ
ปากมดลูกเปิด 4-6 เซนติเมตร
การฉีดยาชาสกัดกั้นประสาท
Pudendal
เป็นวิธีระงับความเจ็บปวดบริเวณ
ผนังช่องคลอดและฝีเย็บในระยะที่ 2
ของการคลอดโดยการฉีดยาชาที่เส้น
ประสาท Pudendal ผ่านทางช่องคลอด
โดยใช้เข็ม Iowa Trumpet
การฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลัง
Spinal block
ใช้ระงับความเจ็บปวดในระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอดได้ดีมาก
โดยการฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลังถึงชั้น subarachnoid space
นิยมฉีดที่บริเวณกระดูกสันหลังส่วนเอวช่วงระหว่าง I2,L3,L4,L5
และห้ามทำในผู้คลอดที่มีภาวะ hypovolemia อย่างรุนแรง
Epidural block
ใช้เมื่อมีอาการเจ็บครรภ์ ปากมดลูกเปิดช้า เจ็บปวดรุนแรง
มีอาการกระสับกระส่ายปัจจุบันเป็นที่นิยมมากเพราะสามารถ
ระงับความเจ็บปวดได้ดีตั้งแต่ระยะปากมดลูกเปิดเร็วจนถึง
ระยะที่ 3 ของการคลอด