Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแจ้งข่าวร้าย - Coggle Diagram
การแจ้งข่าวร้าย
ข่าวร้าย
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง มีผลกระทบต่อความรู้สึก
ตัวอย่าง
การได้รับการเจาะคอ
ใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำผลเลือดเป็นบวก
ผลเลือดเป็นบวกหรือติดเชื้อ HIV
ติดเชื้อ HIV
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะต่อรอง (Bargaining)
“อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน” “ฉันรู้ว่ามันร้ายแรง คงรักษา
ไม่หาย แต่ฉันอยาก....”
ระยะซึมเศร้า (Depression)
เบื่อหน่าย เก็บตัว ไม่ค่อยพูดคุย ถามคำตอบคำ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ระยะโกรธ (Anger)
“ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา” “ไม่ยุติธรรมเลย ทำไมต้องเกิดกับเรา”
ระยะยอมรับ (Acceptance)
อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น
ระยะปฏิเสธ (Denial)
“ไม่จริงใช่ไหม” หรือ
“คุณหมอแน่ใจรึเปล่าว่าผลการตรวจถูกต้อง”
ผู้แจ้งข่าวร้าย
ต้องได้รับการฝึกฝนและมีประสบการณ์วิธีการแจ้งข่าวร้าย
เป็นหน้าที่ที่สำคัญของแพทย์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สามารถยอมรับสภาพความเป็นจริงเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
หมดกำลังใจในการต่อสู้กับโรคที่เป็นเนื่องจากไม่มีความหวังในการรักษา
มีความเครียดสูงเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง
ท้อแท้ ผิดหวังต่อโชคชะตาเนื่องจากคิดว่าถูกพระเจ้าลงโทษหรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจากสิงศักดิ์สิทธิ์
มีภาวะซึมเศร้าเนื่องจากไม่สามารถแสดงบทบาทหัวหน้าครอบครัวได้จากการเจ็บป่วยรุนแรง
กลัวตาย
สัมพันธภาพทางสังคมไม่เหมาะสมเนื่องจากไม่สามารถยอมรับความเจ็บป่วยรุนแรงได้
บทบาทพยาบาล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล การด าเนินโรค แนวทางการรักษา
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจให้ผ่านระยะเครียดและวิตกกังวล
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่ก าลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ เห็นใจ เปิดโอกาสให้ได้ซักถามข้อสงสัย
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติว่า แพทย์และทีมสุขภาพทุกคนจะให้การดูแลอย่างดีที่สุด
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
เพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิต
สนับสนุนให้มีการทํา Family meeting
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม มากกว่าหอผู้ป่วยอื่นๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติ
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น
แบบผสมผสาน
ทีมสุขภาพที่ทํางานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
Behavior การปฏิบัติต่อผู้ป่วยและญาติ
Compassion มีความปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้ป่วยและญาติไม่ทุกข์ทรมาน
Attitude การคำนึงทัศนคติ
Dialogue เนื้อหาของบทสนทนาควรมุ่งเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วย
องค์ประกอบของการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
การวางแผนหรือการตั้งเป้าหมายการรักษา
การประชุมครอบครัว (Family meeting) เป็นกิจกรรมที่มีเป้าหมายสําคัญเพื่อสร้างความเข้าใจที่ดี
ทักษะการสื่อสารและการพยากรณ์โรค (prognostication)
ดังนั้นแพทย์จะต้องเป็นผู้ให้ข้อมูลโรคหรือสภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
บอกผลการรักษาที่น่าจะเป็นไปได้อย่างครบถ้วนตรงจริงแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
การดูแลผู้ป่วยที่กําลังจะเสียชีวิต
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
ทําความสะอาดใบหน้า ช่องปาก และร่างกายผู้ป่วย
ยุติการเจาะเลือด
ยุติการรักษาที่ไม่จําเป็น
ทําการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่าง ๆ
ให้คงไว้เพียงการรักษาที่มุ่งเน้น
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
การใส่ใจและประเมินอาการที่ไม่สุขสบาย
ปวด
สับสน
หอบเหนื่อย
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง
ไม่ควรพูดคําบางคํา เช่น “ไม่เป็นไร” “ไม่ต้องร้องไห้”
การสื่อสาร
หลักในการสื่อสาร
มีความเห็นอกเห็นใจ
บทสนทนาเน้นตัวผู้ป่วยมากกว่าโรค
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงและจริงที่สุด
หลีกเลี่ยงศัพท์แพทย์
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
ควรมีแผFนพับแนะนําครอบครัวถึงการเตรียมตัวกFอนทําการประชุมครอบครัว