Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
3.1 การส่งเสริมสุขอนามัย
3.1.1 ความสาคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
3.1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
เพศ ความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
ภาวะสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บปุวยทางสุขภาพจิต ทาให้ขาดความสนใจ
การศึกษา บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บารุงผิว ผม ปาก ฟัน
อาชีพ บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจ
ถิ่นที่อยู่ การดาเนินชีวิตภายใต้ถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน
ภาวะเจ็บปุวย ในภาวะการเจ็บปุวย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
สิ่งแวดล้อม ในฤดูร้อนอุณหภูมิจะสูงทาให้รู้สึกร้อนอบอ้าว
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
ความชอบ เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลมาจากครอบครัว โรงเรียน
3.1.3 การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care) เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care) เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้าที่จะให้การพยาบาลภายหลังผู้ปุวยรับประทานอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care) เป็นหน้าที่ของ
พยาบาลเวรเช้า หากทากิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น.
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย
การพยาบาลเมื่อจาเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ปุวยตลอด 24 ชั่วโมง
3.1.4 การดูแลความสะอาดร่างกาย
3.1.4.1 การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้า (Bathing)
การอาบน้าที่ห้องน้า (Bathing in bath room/ Shower)
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
จุดประสงค์ การอาบน้าผู้ปุวยบนเตียง
กาจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกาลังกายของข้อต่าง
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและปูองกันแผลกดทับ
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
จัดท่าให้ผู้ปุวยสุขสบาย
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ป่วยโรคหัวใจ
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ปุวยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่าเสมอ
เลือกใช้แปูงหรือโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
จุดประสงค์การนวดหลัง เพื่อ
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ปูองกันแผลกดทับ
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ทางานดีขึ้น
สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
เครื่องใช้
ครีมหรือโลชั่นทาตัวหรือแปูง
ผ้าห่ม 1 ผืน และผ้าเช็ดตัว 1ผืน
วิธีปฏิบัติ
แนะนาตนเองบอกให้ผู้ปุวยทราบและอธิบายวัตถุประสงค์
นาเครื่องใช้ต่าง มาวางที่โต๊ะข้างเตียง กั้นม่านให้มิดชิด
ล้างมือ
จัดท่านอนคว่าและชิดริมเตียงด้านพยาบาลยืนมีหมอนเล็ก รองใต้หน้าอก
เลื่อนผ้าห่มมาบริเวณก้นกบ ปูผ้าเช็ดตัวทับบนผ้าห่ม
ทาแปูงหรือทาครีม หรือโลชั่น (เพียงอย่างเดียว)
นวดบริเวณหลังเรียงลาดับ
3.1.4.2 การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วัตถุประสงค์ เพื่อ
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กาจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ปูองกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ
หลักการทาความสะอาดปากและฟัน
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน และเศษอาหารใน
ผู้ปุวยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหาร
ผู้ปุวยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทาความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ
วิธีการทาความสะอาดปากและฟันผู้ป่วยที่ช่วยตนเองได้ ปฏิบัติดังนี้
พยาบาลแนะนาตนเอง บอกให้ผู้ปุวยทราบและอธิบายวัตถุประสงค์
นาเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ปุวย เพื่อประหยัดเวลาและแรงงาน
ให้ผู้ปุวยอยู่ในท่าศีรษะสูง หรือท่านั่ง เพื่อความสะดวกของผู้ปุวย
ล้างมือและสวมถุงมือ เพื่อปูองกันจุลินทรีย์ จากน้าในช่องปากผู้ป่วย
ปูผ้ากันเปื้อนใต้คาง วางชามรูปไตใต้คาง ให้ผู้ปุวยช่วยถือไว้ หรือวางบนโต๊ะ
ให้บ้วนปากด้วยน้าสะอาด และแปรงฟันตามขั้นตอน
วิธีทาความสะอาดปากฟันผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
การทำความสะอาดปากและฟัน ใช้การประเมินสภาพผู้ปุวยก่อน เพื่อส่งเสริมให้ ผู้ป่วยได้ แปรงฟันด้วยตนเอง แต่กรณีที่ผู้ปุวยช่วยเหลือตนเองได้น้อยพยาบาลต้องให้การช่วยเหลือทำความสะอาดปากและฟัน และให้ผู้ป่วยปลอดภัย
3.1.4.3 การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์ เพื่อ
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ปูองกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องใช้
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้าอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
3.1.4.4 การดูแลความสะอาดของตา
จุดประสงค์ เพื่อ
กาจัดขี้ตา ทาให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ปุวย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ปุวย
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสาลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
3.1.4.5 การดูแลทาความสะอาดของหูการดูแลทาความสะอาดหู (Ear care) หูเป็นอวัยวะรับรู้สึกที่เกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว โดยปกติคนทั่วไปจะดูแลหูเฉพาะด้านนอกให้สะอาดปราศจากขี้ไคลบริเวณหลังใบหู หลังสระผมมักจะมีน้าเปียกในช่องหูใช้ผ้าขนหนูนุ่ม เช็ดให้แห้ง การเช็ดทาความสะอาดช่องหูหลังอาบน้าควรใช้ไม้พันสาลีเช็ดทาความสะอาดในช่องหูทั้ง 2 ข้าง สาหรับผู้ปุวยที่ใส่เครื่องช่วยฟังต้องดูแลเป็นพิเศษ
3.1.4.6 การดูแลทาความสะอาดของจมูกการทาความสะอาดจมูก (Nose care) เป็นการทาความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพ ของเนื้อเยื่อจมูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ปุวยที่คาสายไว้ เช่น สายยางให้อาหารสายออกซิเจน เป็นต้น
3.1.4.7 การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะการดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ เป็นการทาความสะอาดเส้น
ผมและหนังศีรษะรวมทั้งการกระทาเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะ
3.1.4.8 การทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
3.1.4.9 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
3.2 การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
3.2.1 ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
3.2.2 ความสาคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
3.2.3 ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
3.2.3.1 ผลกระทบต่อร่างกาย
3.2.3.2 ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
3.2.3.3 ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
3.2.3.4 ผลกระทบทางสังคม
3.2.3 วงจรการนอนหลับ
1) ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
2) ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM
3.2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
3.2.4.1 ปัจจัยภายใน
1) ปัจจัยส่วนบุคคล
2) ความไม่สุขสบา
3) ความวิตกกังวล
3.2.4.2 ปัจจัยภายนอก
1) เสียง
2) อุณหภูมิ
3) แสง
4) ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
5) กิจกรรมการรักษาพยาบาล
6) อาหาร
7) ยา
3.2.5 การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
3.2.5.1 Insomnia
1) การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
2) การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
3) การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
3.2.5.2 Hypersomnia
3.2.5.3 Parasomnia
1) ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
2) ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
3) กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
3.2.6 การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
3.2.6.1 การจัดสิ่งแวดล้อม
3.2.6.2 การจัดท่าทางสาหรับผู้ป่วย
3.2.7 การทาเตียง
1) การทาเตียงว่าง
2) การทาเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้
3) การทาเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้
4) การทาเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ปุวยที่ได้รับยาสลบ
3.2.8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)